แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9
กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง ดินในท้องถิ่นของเรา เวลา 11 ชั่วโมง
เรื่อง กระบวนการเกิดดิน เวลา 1 ชั่วโมง
ผู้สอน นางสาวสิรินธร พรมชาติ โรงเรียนวัดเขาวัง (แสง ช่วงสุวนิช)
1.มาตรฐานการเรียนรู้ ว6.1 เข้าใจกระบวนการต่างๆที่เกิดขึ้นบนผิวโลกความสัมพันธ์ของกระบวนการต่างๆที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศภูมิประเทศและสัณฐานของโลกมีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์
2.สาระสำคัญ
ดินเป็นวัสดุธรรมชาติหรือเป็นทรัพยากรธรรมชาติประเภทหนึ่งซึ่งเกิดขึ้นเองตามธรรมชาติโดยกระบวนการสลายตัวของหินและแร่ธาตุต่างๆรวมกับอินทรียวัตถุหรือฮิวมัสซึ่งเป็นซากพืชซากสัตว์ที่เน่าเปื่อยผุพังและเป็นส่วนประกอบของเปลือกโลก
3.สาระการเรียนรู้
3.1 กระบวนการเกิดดิน
3.2ส่วนประกอบของดิน
4.ตัวชี้วัดชั้นปี/จุดประสงค์การเรียนรู้
จุดประสงค์ปลายทาง
อธิบายกระบวนการเกิดดินได้
จุดประสงค์นำทาง
นักเรียนสืบค้นข้อมูลกระบวนการเกิดดินได้
นักเรียนทดลองและบอกส่วนประกอบของดินได้
กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นสร้างความสนใจ
1.ครูแจ้งจุดประสงค์ให้นักเรียนทราบว่า
15นาที แรกนักเรียนแต่ละกลุ่มออกไปสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับกระบวนการเกิดดินและส่วนประกอบของดินในบอร์ดที่ครูเตรียมไว้แล้วจดบันทึก
15นาที หลังนักเรียนจะได้ทำการทดลองเกี่ยวกับส่วนประกอบของดินและตอบคำถามในเรื่องกระบวนการเกิดดิน
2.ครูให้นักเรียนดูตัวอย่างดินและบอร์ดภาพที่เกี่ยวกับดิน
3.ครูกับนักเรียนร่วมกันสนทนาเกี่ยวกับดินด้วยคำถาม
3.1นักเรียนรู้จักดินหรือไม่
3.2ดินคืออะไร
3.3ดินเกิดมาได้อย่างไร
3.4ดินมีอะไรเป็นส่วนประกอบบ้าง
ขั้นสำรวจและค้นหา
1.ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่มด้วยวิธีจับสลาก 5กลุ่ม
2.นักเรียนแต่ละกลุ่มออกไปสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับกระบวนการเกิดดินและส่วนประกอบของดินในบอร์ดที่ครูเตรียมไว้แล้วจดบันทึก
3.นักเรียนนั่งเป็นกลุ่ม 5 กลุ่มตามเดิม
4.ครูชี้แจงการทดลองและให้ตัวแทนนักเรียนออกมารับอุปกรณ์การทดลองจากครู
กลุ่มละ 1 ชุด
ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป
ครูให้ตัวแทนแต่ละกลุ่มออกมานำเสนอกิจกรรมการเรียนรู้และผลการทดลองของตนเอง
ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปว่า ดินเป็นวัสดุธรรมชาติหรือเป็นทรัพยากรธรรมชาติประเภทหนึ่งซึ่งเกิดขึ้นเองตามธรรมชาติโดยกระบวนการสลายตัวของหินและแร่ธาตุต่างๆรวมกับอินทรียวัตถุหรือฮิวมัสซึ่งเป็นซากพืชซากสัตว์ที่เน่าเปื่อยผุพังและเป็นส่วนประกอบของเปลือกโลก
ขั้นประเมิน
1.ประเมินจากการสังเกตการทำงานเป็นกลุ่ม
2.ประเมินจากใบกิจกรรมที่1เรื่อง กระบวนการเกิดดิน
และผลการทดลองส่วนประกอบของดิน
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
1. บอร์ดเรื่องกระบวนการเกิดดินและส่วนประกอบของดิน
2. อุปกรณ์การทดลอง(ดิน ไม้จิ้มฟัน กระป๋อง กระดาษหนังสือพิมพ์ แว่นขยาย)
3. ใบกิจกรรมที่1เรื่องกระบวนการเกิดดิน
ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่องส่วนประกอบของดิน
ชื่อ .......................................................................ชั้น .................เลขที่…………..
วันที่ .................. เดือน.........................................พ.ศ. ......................
จุดประสงค์ เพื่อศึกษาส่วนประกอบของดิน
ปัญหา เนื้อดินที่นำมาศึกษามีส่วนประกอบอะไรบ้าง
คาดคะเนคำตอบของปัญหา(สมมุติฐาน)
.................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................
ผลการทดลอง
ตารางบันทึกผลการทดลอง
ตัวอย่างดิน(บอกบริเวณที่นำมาศึกษา)
ผลการสังเกตส่วนประกอบของเนื้อดิน
ตอบคำถามต่อไปนี้
1.ดินตัวอย่างที่นำมาศึกษามีส่วนประกอบอะไรบ้าง
............................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................
2.ผลการทดลองของกลุ่มเหมือนหรือต่างจากกลุ่มอื่นหรือไม่อย่างไร(ให้แลกเปลี่ยนเรียนรู้กับกลุ่มอื่น)
.................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................3.จากผลการทดลองพบสิ่งมีชีวิตที่อยู่ในดินตัวอย่างหรือไม่ถ้าพบให้ระบุชนิดของสิ่งมีชีวิตนั้นด้วย(ถ้าบอกได้)
......................................................................................................................................................................................................................................................................................4.การทดลองนี้สอดคล้องกับสมมุติฐานที่กำหนดไว้หรือไม่
.................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................
สรุปผลการทดลอง
.................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................
นาฬิกา
วันศุกร์ที่ 5 มีนาคม พ.ศ. 2553
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ระบบสุริยะ
แผนการจัดการเรียนรู้
วิชา วิทยาศาสตร์ ช่วงชั้นที่ 2 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
โรงเรียนวัดเขาวัง(แสง ช่วงสุวนิช) หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 จักรวาลและอวกาศ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ระบบสุริยะ จำนวน 5 ชั่วโมง
วันที่ทำการสอนวันที่ 30 ธันวาคม พ.ศ. 2552
ผู้สอน 1.นางสาวสิรินธร พรมชาติ
1. มาตรฐาน ว 7.1เข้าใจวิวัฒนาการของระบบสุริยะ กาแล็กซี่และเอกภพ การปฏิสัมพันธ์ภายในระบบสุริยะและผลต่อสิ่งมีชีวิตบนโลก มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ การสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์
2. ตัวชี้วัดชั้นปี/จุดประสงค์การเรียนรู้
จุดประสงค์การเรียนรู้
หลักฐาน/ชิ้นงาน/ภาระงาน
จุดประสงค์ปลายทาง มฐ.ว7.1(1)
1.สามารถสร้างแบบจำลองเพื่ออธิบายลักษณะของระบบสุริยะได้
-กิจกรรมพัฒนาการคิด(แบบจำลอง)
จุดประสงค์นำทาง
1.อธิบายส่วนประกอบของระบบสุริยะได้
2.ตอบคำถามเกี่ยวกับระบบสุริยะได้
-การสืบค้นข้อมูลความหมาย ประเภทของดวงดาว
-การตอบคำถามเกี่ยวกับระบบสุริยะ
3.สาระการเรียนรู้
ระบบสุริยะ เป็นระบบของดวงดาว ประกอบด้วยดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลาง มีดาวเคราะห์บริวาร 8 ดวงได้แก่ ดาวพุธ ดาวศุกร์ โลก ดาวอังคาร ดาวพฤหัสบดี ดาวเสาร์ ดาวยูเรนัสและดาวเนปจูน นอกจากนี้ยังมีดวงจันทร์ซึ่งเป็นบริวารของดาวเคราะห์ต่างๆ ดาวเคราะห์แคระ ดาวเคราะห์น้อย และดาวหาง ดวงดาวเหล่านี้โคจรรอบดวงอาทิตย์
4.กิจกรรมการเรียนรู้
-กระบวนการสืบสวนสอบสวน
ชั่วโมงที่1
กิจกรรมนำสู่บทเรียน
1. ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ให้นักเรียนทราบ
2. ครูให้นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียน
3. ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับอวกาศและดวงดาวเพื่อนำเข้าสู่บทเรียน เช่น
- ดวงจันทร์และดวงดาวต่างๆที่เรามองเห็นบนท้องฟ้าโน่น นักเรียนคิดว่ามันอยู่ที่ไหน
- เมื่อออกไปนอกโลกจะเป็นอย่างไร
- นักเรียนรู้จักระบบสุริยะหรือไม่ ระบบสุริยะคืออะไร
กิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้
ขั้นสร้างความสนใจ
1. ครูให้นักเรียนหลับตาแล้วครูก็ค่อยๆเอาภาพดาวแต่ละดวงมาให้นักเรียนดูแล้วสนทนากับนักเรียนในประเด็นต่อไปนี้
- จากภาพนักเรียนคิดว่าเป็นภาพอะไร
- นักเรียนสังเกตจากสิ่งใดจึงคิดว่าเป็นภาพนั้น
2. ครูให้นักเรียนอ่านข้อมูลและร่วมกันสรุปความหมายของระบบสุริยะ
ชั่วโมงที่2
ขั้นสำรวจและค้นหา
1. ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่มกลุ่มละ 5 - 6 คนให้แต่ละกลุ่มศึกษาข้อมูลเบื้องต้นของระบบสุริยะ จากนั้นทำใบกำหนดงานกิจกรรมที่ 1 (สังเกตและตอบคำถาม)
2. ครูมอบหมายให้แต่ละกลุ่มสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับดวงดาวในระบบสุริยะจากบทเรียนนี้กลุ่มละ 1 ดวง
3. ให้สมาชิกกลุ่มร่วมกันสรุปสาระสำคัญของข้อมูลที่ทำการศึกษาและสืบค้นมา
ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป
1. ให้นักเรียนทำใบกำหนดงานกิจกรรมที่2ระบบสุริยะ(แผนผังความคิด)
2. ให้ตัวแทนแต่ละกลุ่มออกมาสรุปลักษณะเด่นของดวงดาวที่กลุ่มของตนเองศึกษา
3. นักเรียนร่วมกันอภิปรายและสรุปได้ว่าระบบสุริยะเป็นระบบของดวงดาว ประกอบด้วยดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลาง มีดาวเคราะห์บริวาร 8 ดวงได้แก่ ดาวพุธ
ดาวศุกร์ โลก ดาวอังคาร ดาวพฤหัสบดี ดาวเสาร์ ดาวยูเรนัสและดาวเนปจูน นอกจากนี้ยังมีดวงจันทร์ซึ่งเป็นบริวารของดาวเคราะห์ต่างๆ ดาวเคราะห์แคระ ดาวเคราะห์น้อย และดาวหาง ดวงดาวเหล่านี้โคจรรอบดวงอาทิตย์
4. ครูให้ความรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับดาวพลูโตว่าดาวพลูโตเคยมีสถานะเป็นดาวเคราะห์แต่ในปัจจุบันได้ถูกจัดสถานะใหม่ให้เป็นดาวเคราะห์แคระเพราะว่ามีวงโคจรซ้อนทับกับดาวเนปจูนปัจจุบันจึงเหลือดาวเคราะห์ในระบบสุริยะ 8 ดวงและถ้าใช้ระยะทางจากโลกถึงดวงอาทิตย์เป็นเกณฑ์ในการจำแนกดาวเคราะห์ ดาวพุธและดาวศุกร์จัดเป็นดาวเคราะห์วงในเพราะอยู่ห่างจากดวงอาทิตย์น้อยกว่าโลกส่วนดาวอังคาร ดาวพฤหัสบดี ดาวเสาร์ ดาวยูเรนัส และดาวเนปจูนเป็นดาวเคราะห์วงนอกเพราะอยู่ห่างจากดวงอาทิตย์มากกว่าโลก
5. ครูให้นักเรียนนำความรู้เกี่ยวกับดวงดาวในระบบสุริยะที่ได้ไปสืบค้นข้อมูลมาเขียนลงในใบกิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้จากนั้นร่วมกันเฉลย
ชั่วโมงที่3
ขั้นขยายความรู้
1. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มศึกษาข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับดาวเคราะห์จากนั้นตั้งคำถามเกี่ยวกับสิ่งที่อ่านกลุ่มละ 2 คำถามครูสุ่มเรียกนักเรียนทีละกลุ่มให้ถามคำถามเพื่อนโดยเลือกว่าจะถามกลุ่มไหน(ห้ามซ้ำกัน)
2. นักเรียนในชั้นร่วมกันอภิปรายว่าการศึกษาระบบสุริยะมีประโยชน์อย่างไร จากนั้นร่วมกันสรุปเป็นองค์ความรู้
ขั้นประเมิน
1. ครูให้นักเรียนอธิบายความหมายส่วนประกอบของระบบสุริยะและแบบทดสอบที่1เพื่อตรวจสอบความเข้าใจ
เตรียมล่วงหน้า
ครูมอบหมายให้นักเรียนแต่ละกลุ่มศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับระบบสุริยะเพื่อออกแบบระบบสุริยะจำลองโดยร่างแบบลงในสมุดและกำหนดอุปกรณ์ที่ใช้ในการสร้างแบบจำลองแล้วนำเสนอแบบร่างกับครูเพื่อให้ครูแนะนำและจัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ทำงานมาในครั้งต่อไป
ชั่วโมงที่4-5
กิจกรรมรวบยอด
1. ครูแจ้งนักเรียนว่าให้นักเรียนสร้างแบบจำลองระบบสุริยะทำเพื่อเก็บคะแนนสะสมจากนั้นนักเรียนแต่ละกลุ่มนำวัสดุอุปกรณ์ที่เตรียมมาสร้างแบบจำลองระบบสุริยะ
2. ให้แต่ละกลุ่มนำเสนอแบบจำลองระบบสุริยะของกลุ่มพร้อมทั้งอธิบายลักษณะของระบบสุริยะ
3. ครูให้นักเรียนรวบรวมแบบจำลองส่งครู
5. สื่อและแหล่งการเรียนรู้
1. ภาพระบบสุริยะ
2. แบบทดสอบก่อนเรียน
3. หนังสือวิทยาศาสตร์ป.4
4. ใบกำหนดงานกิจกรรมที่1 /2
5. วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ทำแบบจำลอง
6. การวัดและประเมินผล
6.1 ประเมินผลจากแบบจำลองระบบสุริยะ
6.2 ประเมินผลจากแบบทดสอบ
6.3 ประเมินผลจากใบกำหนดงานกิจกรรมที่1 และ2
7. กิจกรรมเสนอแนะ
..................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................
วิชา วิทยาศาสตร์ ช่วงชั้นที่ 2 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
โรงเรียนวัดเขาวัง(แสง ช่วงสุวนิช) หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 จักรวาลและอวกาศ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ระบบสุริยะ จำนวน 5 ชั่วโมง
วันที่ทำการสอนวันที่ 30 ธันวาคม พ.ศ. 2552
ผู้สอน 1.นางสาวสิรินธร พรมชาติ
1. มาตรฐาน ว 7.1เข้าใจวิวัฒนาการของระบบสุริยะ กาแล็กซี่และเอกภพ การปฏิสัมพันธ์ภายในระบบสุริยะและผลต่อสิ่งมีชีวิตบนโลก มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ การสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์
2. ตัวชี้วัดชั้นปี/จุดประสงค์การเรียนรู้
จุดประสงค์การเรียนรู้
หลักฐาน/ชิ้นงาน/ภาระงาน
จุดประสงค์ปลายทาง มฐ.ว7.1(1)
1.สามารถสร้างแบบจำลองเพื่ออธิบายลักษณะของระบบสุริยะได้
-กิจกรรมพัฒนาการคิด(แบบจำลอง)
จุดประสงค์นำทาง
1.อธิบายส่วนประกอบของระบบสุริยะได้
2.ตอบคำถามเกี่ยวกับระบบสุริยะได้
-การสืบค้นข้อมูลความหมาย ประเภทของดวงดาว
-การตอบคำถามเกี่ยวกับระบบสุริยะ
3.สาระการเรียนรู้
ระบบสุริยะ เป็นระบบของดวงดาว ประกอบด้วยดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลาง มีดาวเคราะห์บริวาร 8 ดวงได้แก่ ดาวพุธ ดาวศุกร์ โลก ดาวอังคาร ดาวพฤหัสบดี ดาวเสาร์ ดาวยูเรนัสและดาวเนปจูน นอกจากนี้ยังมีดวงจันทร์ซึ่งเป็นบริวารของดาวเคราะห์ต่างๆ ดาวเคราะห์แคระ ดาวเคราะห์น้อย และดาวหาง ดวงดาวเหล่านี้โคจรรอบดวงอาทิตย์
4.กิจกรรมการเรียนรู้
-กระบวนการสืบสวนสอบสวน
ชั่วโมงที่1
กิจกรรมนำสู่บทเรียน
1. ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ให้นักเรียนทราบ
2. ครูให้นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียน
3. ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับอวกาศและดวงดาวเพื่อนำเข้าสู่บทเรียน เช่น
- ดวงจันทร์และดวงดาวต่างๆที่เรามองเห็นบนท้องฟ้าโน่น นักเรียนคิดว่ามันอยู่ที่ไหน
- เมื่อออกไปนอกโลกจะเป็นอย่างไร
- นักเรียนรู้จักระบบสุริยะหรือไม่ ระบบสุริยะคืออะไร
กิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้
ขั้นสร้างความสนใจ
1. ครูให้นักเรียนหลับตาแล้วครูก็ค่อยๆเอาภาพดาวแต่ละดวงมาให้นักเรียนดูแล้วสนทนากับนักเรียนในประเด็นต่อไปนี้
- จากภาพนักเรียนคิดว่าเป็นภาพอะไร
- นักเรียนสังเกตจากสิ่งใดจึงคิดว่าเป็นภาพนั้น
2. ครูให้นักเรียนอ่านข้อมูลและร่วมกันสรุปความหมายของระบบสุริยะ
ชั่วโมงที่2
ขั้นสำรวจและค้นหา
1. ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่มกลุ่มละ 5 - 6 คนให้แต่ละกลุ่มศึกษาข้อมูลเบื้องต้นของระบบสุริยะ จากนั้นทำใบกำหนดงานกิจกรรมที่ 1 (สังเกตและตอบคำถาม)
2. ครูมอบหมายให้แต่ละกลุ่มสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับดวงดาวในระบบสุริยะจากบทเรียนนี้กลุ่มละ 1 ดวง
3. ให้สมาชิกกลุ่มร่วมกันสรุปสาระสำคัญของข้อมูลที่ทำการศึกษาและสืบค้นมา
ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป
1. ให้นักเรียนทำใบกำหนดงานกิจกรรมที่2ระบบสุริยะ(แผนผังความคิด)
2. ให้ตัวแทนแต่ละกลุ่มออกมาสรุปลักษณะเด่นของดวงดาวที่กลุ่มของตนเองศึกษา
3. นักเรียนร่วมกันอภิปรายและสรุปได้ว่าระบบสุริยะเป็นระบบของดวงดาว ประกอบด้วยดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลาง มีดาวเคราะห์บริวาร 8 ดวงได้แก่ ดาวพุธ
ดาวศุกร์ โลก ดาวอังคาร ดาวพฤหัสบดี ดาวเสาร์ ดาวยูเรนัสและดาวเนปจูน นอกจากนี้ยังมีดวงจันทร์ซึ่งเป็นบริวารของดาวเคราะห์ต่างๆ ดาวเคราะห์แคระ ดาวเคราะห์น้อย และดาวหาง ดวงดาวเหล่านี้โคจรรอบดวงอาทิตย์
4. ครูให้ความรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับดาวพลูโตว่าดาวพลูโตเคยมีสถานะเป็นดาวเคราะห์แต่ในปัจจุบันได้ถูกจัดสถานะใหม่ให้เป็นดาวเคราะห์แคระเพราะว่ามีวงโคจรซ้อนทับกับดาวเนปจูนปัจจุบันจึงเหลือดาวเคราะห์ในระบบสุริยะ 8 ดวงและถ้าใช้ระยะทางจากโลกถึงดวงอาทิตย์เป็นเกณฑ์ในการจำแนกดาวเคราะห์ ดาวพุธและดาวศุกร์จัดเป็นดาวเคราะห์วงในเพราะอยู่ห่างจากดวงอาทิตย์น้อยกว่าโลกส่วนดาวอังคาร ดาวพฤหัสบดี ดาวเสาร์ ดาวยูเรนัส และดาวเนปจูนเป็นดาวเคราะห์วงนอกเพราะอยู่ห่างจากดวงอาทิตย์มากกว่าโลก
5. ครูให้นักเรียนนำความรู้เกี่ยวกับดวงดาวในระบบสุริยะที่ได้ไปสืบค้นข้อมูลมาเขียนลงในใบกิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้จากนั้นร่วมกันเฉลย
ชั่วโมงที่3
ขั้นขยายความรู้
1. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มศึกษาข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับดาวเคราะห์จากนั้นตั้งคำถามเกี่ยวกับสิ่งที่อ่านกลุ่มละ 2 คำถามครูสุ่มเรียกนักเรียนทีละกลุ่มให้ถามคำถามเพื่อนโดยเลือกว่าจะถามกลุ่มไหน(ห้ามซ้ำกัน)
2. นักเรียนในชั้นร่วมกันอภิปรายว่าการศึกษาระบบสุริยะมีประโยชน์อย่างไร จากนั้นร่วมกันสรุปเป็นองค์ความรู้
ขั้นประเมิน
1. ครูให้นักเรียนอธิบายความหมายส่วนประกอบของระบบสุริยะและแบบทดสอบที่1เพื่อตรวจสอบความเข้าใจ
เตรียมล่วงหน้า
ครูมอบหมายให้นักเรียนแต่ละกลุ่มศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับระบบสุริยะเพื่อออกแบบระบบสุริยะจำลองโดยร่างแบบลงในสมุดและกำหนดอุปกรณ์ที่ใช้ในการสร้างแบบจำลองแล้วนำเสนอแบบร่างกับครูเพื่อให้ครูแนะนำและจัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ทำงานมาในครั้งต่อไป
ชั่วโมงที่4-5
กิจกรรมรวบยอด
1. ครูแจ้งนักเรียนว่าให้นักเรียนสร้างแบบจำลองระบบสุริยะทำเพื่อเก็บคะแนนสะสมจากนั้นนักเรียนแต่ละกลุ่มนำวัสดุอุปกรณ์ที่เตรียมมาสร้างแบบจำลองระบบสุริยะ
2. ให้แต่ละกลุ่มนำเสนอแบบจำลองระบบสุริยะของกลุ่มพร้อมทั้งอธิบายลักษณะของระบบสุริยะ
3. ครูให้นักเรียนรวบรวมแบบจำลองส่งครู
5. สื่อและแหล่งการเรียนรู้
1. ภาพระบบสุริยะ
2. แบบทดสอบก่อนเรียน
3. หนังสือวิทยาศาสตร์ป.4
4. ใบกำหนดงานกิจกรรมที่1 /2
5. วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ทำแบบจำลอง
6. การวัดและประเมินผล
6.1 ประเมินผลจากแบบจำลองระบบสุริยะ
6.2 ประเมินผลจากแบบทดสอบ
6.3 ประเมินผลจากใบกำหนดงานกิจกรรมที่1 และ2
7. กิจกรรมเสนอแนะ
..................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7 เรื่องเซลล์สุริยะ
แผนการจัดการเรียนรู้
วิชา วิทยาศาสตร์ ช่วงชั้นที่ 2 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
โรงเรียนวัดเขาวัง(แสง ช่วงสุวนิช) หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 พลังงานแสง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7 เรื่องเซลล์สุริยะ จำนวน 1 คาบ
วันที่ทำการสอนวันที่ 16 ธันวาคม 2552
ผู้สอน 1.นางสาวสิรินธร พรมชาติ
มาตรฐาน ว 5.1 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานกับการดำรงชีวิต การแลกเปลี่ยนรูปพลังงาน ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสารและพลังงาน ผลของการใช้พลังงานต่อชีวิตและสิ่งแวดล้อม มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์
1.สาระสำคัญ เซลล์สุริยะคืออุปกรณ์ที่ใช้ผลิตกระแสไฟฟ้าโดยรับแสงอาทิตย์และเปลี่ยนเป็นพลังงานไฟฟ้า
2.สาระการเรียนรู้
เซลล์สุริยะ
1. ความหมายของเซลล์สุริยะ
2. ข้อดีและข้อจำกัดของเซลล์สุริยะ
3. สิ่งของเครื่องใช้ที่ใช้เซลล์สุริยะ
3.จุดประสงค์การเรียนรู้
จุดประสงค์ปลายทาง
อธิบายความหมายของเซลล์สุริยะได้
จุดประสงค์นำทาง
1. อธิบายความหมายของเซลล์สุริยะได้
2. เขียนข้อดีและข้อจำกัดของเซลล์สุริยะได้
3. ยกตัวอย่างเครื่องใช้ที่ใช้เซลล์สุริยะได้
4.กระบวนการเรียนรู้
1. กิจกรรมนำสู่บทเรียน
1.1 การจัดนักเรียนโดยแบ่งนักเรียนออกเป็น 6 กลุ่ม
1.2 ทบทวนความรู้เดิมและนำเข้าสู่บทเรียนด้วยการตั้งประเด็นคำถามดังนี้
- นักเรียนรู้จักและเคยเห็นเซลล์สุริยะหรือไม่
- นักเรียนคิดว่าอุปกรณ์ใดบ้างที่ใช้แผงเซลล์สุริยะ
- นักเรียนคิดว่าเซลล์สุริยะมีข้อดีหรือข้อเสียหรือไม่ อย่างไร
ครูให้นักเรียนช่วยกันยกตัวอย่างอุปกรณ์ต่างๆที่มี เซลล์สุริยะ
2. กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
ขั้นที่1ขั้นวางแผน
- สมาชิกกลุ่มร่วมกันวางแผนการทำกิจกรรม
ขั้นที่2ปฏิบัติตามแผน
- ตัวแทนกลุ่มมารับแผงเซลล์สุริยะจากครู
- ครูให้นักเรียนสังเกตอุปกรณ์ที่ได้แล้ววาดภาพและให้นักเรียนแสดงความคิดเห็นว่าถ้าแสงเคลื่อนที่มายังเซลล์สุริยะแล้วเราจะนำพลังงานที่ได้มาใช้ได้อย่างไรและมันมีข้อดีและข้อจำกัดอย่างไร
ขั้นที่3อธิบายขยายความรู้
ถามนักเรียนและอธิบายประกอบภาพ
- นักเรียนคิดว่าเซลล์สุริยะมีประโยชน์อย่างไร
- อุปกรณ์ที่นักเรียนเคยเห็นมีอะไรบ้างที่ใช้เซลล์สุริยะและนักเรียนจะนำไปใช้ในชีวิตประจำวันอย่างไร
- แต่ละกลุ่มระดมความคิดในเรื่องดังกล่าว
- ครูให้เกร็ดความรู้เกี่ยวกับต้นกำเนิดและผู้คิดค้นเซลล์สุริยะ
ขั้นที่5สรุป
- ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปว่า เซลล์สุริยะคืออุปกรณ์ที่ใช้ผลิตกระแสไฟฟ้าโดยรับแสงอาทิตย์และเปลี่ยนเป็นพลังงานไฟฟ้าเซลล์สุริยะประกอบด้วยสารที่มีส่วนประกอบของสารกึ่งตัวนำเช่นซิลิคอน เมื่อแสงอาทิตย์มากระทบแผ่นเซลล์สุริยะจะทำให้เกิดประจุไฟฟ้าระหว่างชั้นซิลิคอนไฟฟ้าที่ได้จะเป็นไฟฟ้ากระแสตรง ซึ่งสามารถเก็บสะสมพลังงานไว้ในแบตเตอรี่เพื่อใช้งานได้
5.สื่อการสอน/แหล่งเรียนรู้
1. หนังสือวิทยาศาสตร์ ป.4
2. ภาพเซลล์สุริยะ
3. อุปกรณ์ที่ใช้เซลล์สุริยะ
4.ใบกิจกรรมที่1เรื่องเซลล์สุริยะ
6.การวัดผล
1.วัดผลการอธิบายความหมายของเซลล์สุริยะด้วยการตรวจผลการอธิบายความหมายของเซลล์สุริยะตามการถาม-ตอบโดยยึดเกณฑ์ได้
2.วัดผลการเขียนข้อดีและข้อจำกัดของเซลล์สุริยะใบกำหนดงานที่1โดยยึดเกณฑ์ได้
3.วัดผลการยกตัวอย่างสิ่งของเครื่องใช้ที่ใช้เซลล์สุริยะตามใบกำหนดงานที่1โดยยึดเกณฑ์ได้
7.ประเมินผล
1.ประเมิลผลการอธิบายความหมายของเซลล์สุริยะพบว่านักเรียน.....คนอธิบายความหมายของเซลล์สุริยะไม่ได้แก้ไขด้วยการอธิบายให้ฟังอีกรอบ
2.ประเมิลผลการเขียนข้อดีและข้อจำกัดของเซลล์สุริยะพบว่านักเรียน.....คนเขียนข้อดีและข้อจำกัดของเซลล์สุริยะไม่ได้แก้ไขด้วยการให้นักเรียนในชั้นช่วยเขียนให้ดูให้ฟัง
3.ประเมิลผลการยกตัวอย่างสิ่งของเครื่องใช้ที่ใช้เซลล์สุริยะพบว่านักเรียน.....คนยกตัวอย่างสิ่งของเครื่องใช้ที่ใช้เซลล์สุริยะไม่ได้แก้ไขด้วยการให้ดูภาพหรือสื่ออีกรอบ
บันทึกผลหลังสอน
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ใบกำหนดงานที่ 1 กิจกรรมที่ 1 เรื่องเซลล์สุริยะ
คำชี้แจง ให้นักเรียนเขียนข้อดีและข้อจำกัดของเซลล์สุริยะมาให้มากที่สุด
( Mind mapping )
คำชี้แจง ให้นักเรียนวาดภาพอุปกรณ์ที่ใช้เซลล์สุริยะมาคนละ 1 ชิ้นให้สวยที่สุดพร้อมระบายสี
วิชา วิทยาศาสตร์ ช่วงชั้นที่ 2 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
โรงเรียนวัดเขาวัง(แสง ช่วงสุวนิช) หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 พลังงานแสง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7 เรื่องเซลล์สุริยะ จำนวน 1 คาบ
วันที่ทำการสอนวันที่ 16 ธันวาคม 2552
ผู้สอน 1.นางสาวสิรินธร พรมชาติ
มาตรฐาน ว 5.1 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานกับการดำรงชีวิต การแลกเปลี่ยนรูปพลังงาน ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสารและพลังงาน ผลของการใช้พลังงานต่อชีวิตและสิ่งแวดล้อม มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์
1.สาระสำคัญ เซลล์สุริยะคืออุปกรณ์ที่ใช้ผลิตกระแสไฟฟ้าโดยรับแสงอาทิตย์และเปลี่ยนเป็นพลังงานไฟฟ้า
2.สาระการเรียนรู้
เซลล์สุริยะ
1. ความหมายของเซลล์สุริยะ
2. ข้อดีและข้อจำกัดของเซลล์สุริยะ
3. สิ่งของเครื่องใช้ที่ใช้เซลล์สุริยะ
3.จุดประสงค์การเรียนรู้
จุดประสงค์ปลายทาง
อธิบายความหมายของเซลล์สุริยะได้
จุดประสงค์นำทาง
1. อธิบายความหมายของเซลล์สุริยะได้
2. เขียนข้อดีและข้อจำกัดของเซลล์สุริยะได้
3. ยกตัวอย่างเครื่องใช้ที่ใช้เซลล์สุริยะได้
4.กระบวนการเรียนรู้
1. กิจกรรมนำสู่บทเรียน
1.1 การจัดนักเรียนโดยแบ่งนักเรียนออกเป็น 6 กลุ่ม
1.2 ทบทวนความรู้เดิมและนำเข้าสู่บทเรียนด้วยการตั้งประเด็นคำถามดังนี้
- นักเรียนรู้จักและเคยเห็นเซลล์สุริยะหรือไม่
- นักเรียนคิดว่าอุปกรณ์ใดบ้างที่ใช้แผงเซลล์สุริยะ
- นักเรียนคิดว่าเซลล์สุริยะมีข้อดีหรือข้อเสียหรือไม่ อย่างไร
ครูให้นักเรียนช่วยกันยกตัวอย่างอุปกรณ์ต่างๆที่มี เซลล์สุริยะ
2. กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
ขั้นที่1ขั้นวางแผน
- สมาชิกกลุ่มร่วมกันวางแผนการทำกิจกรรม
ขั้นที่2ปฏิบัติตามแผน
- ตัวแทนกลุ่มมารับแผงเซลล์สุริยะจากครู
- ครูให้นักเรียนสังเกตอุปกรณ์ที่ได้แล้ววาดภาพและให้นักเรียนแสดงความคิดเห็นว่าถ้าแสงเคลื่อนที่มายังเซลล์สุริยะแล้วเราจะนำพลังงานที่ได้มาใช้ได้อย่างไรและมันมีข้อดีและข้อจำกัดอย่างไร
ขั้นที่3อธิบายขยายความรู้
ถามนักเรียนและอธิบายประกอบภาพ
- นักเรียนคิดว่าเซลล์สุริยะมีประโยชน์อย่างไร
- อุปกรณ์ที่นักเรียนเคยเห็นมีอะไรบ้างที่ใช้เซลล์สุริยะและนักเรียนจะนำไปใช้ในชีวิตประจำวันอย่างไร
- แต่ละกลุ่มระดมความคิดในเรื่องดังกล่าว
- ครูให้เกร็ดความรู้เกี่ยวกับต้นกำเนิดและผู้คิดค้นเซลล์สุริยะ
ขั้นที่5สรุป
- ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปว่า เซลล์สุริยะคืออุปกรณ์ที่ใช้ผลิตกระแสไฟฟ้าโดยรับแสงอาทิตย์และเปลี่ยนเป็นพลังงานไฟฟ้าเซลล์สุริยะประกอบด้วยสารที่มีส่วนประกอบของสารกึ่งตัวนำเช่นซิลิคอน เมื่อแสงอาทิตย์มากระทบแผ่นเซลล์สุริยะจะทำให้เกิดประจุไฟฟ้าระหว่างชั้นซิลิคอนไฟฟ้าที่ได้จะเป็นไฟฟ้ากระแสตรง ซึ่งสามารถเก็บสะสมพลังงานไว้ในแบตเตอรี่เพื่อใช้งานได้
5.สื่อการสอน/แหล่งเรียนรู้
1. หนังสือวิทยาศาสตร์ ป.4
2. ภาพเซลล์สุริยะ
3. อุปกรณ์ที่ใช้เซลล์สุริยะ
4.ใบกิจกรรมที่1เรื่องเซลล์สุริยะ
6.การวัดผล
1.วัดผลการอธิบายความหมายของเซลล์สุริยะด้วยการตรวจผลการอธิบายความหมายของเซลล์สุริยะตามการถาม-ตอบโดยยึดเกณฑ์ได้
2.วัดผลการเขียนข้อดีและข้อจำกัดของเซลล์สุริยะใบกำหนดงานที่1โดยยึดเกณฑ์ได้
3.วัดผลการยกตัวอย่างสิ่งของเครื่องใช้ที่ใช้เซลล์สุริยะตามใบกำหนดงานที่1โดยยึดเกณฑ์ได้
7.ประเมินผล
1.ประเมิลผลการอธิบายความหมายของเซลล์สุริยะพบว่านักเรียน.....คนอธิบายความหมายของเซลล์สุริยะไม่ได้แก้ไขด้วยการอธิบายให้ฟังอีกรอบ
2.ประเมิลผลการเขียนข้อดีและข้อจำกัดของเซลล์สุริยะพบว่านักเรียน.....คนเขียนข้อดีและข้อจำกัดของเซลล์สุริยะไม่ได้แก้ไขด้วยการให้นักเรียนในชั้นช่วยเขียนให้ดูให้ฟัง
3.ประเมิลผลการยกตัวอย่างสิ่งของเครื่องใช้ที่ใช้เซลล์สุริยะพบว่านักเรียน.....คนยกตัวอย่างสิ่งของเครื่องใช้ที่ใช้เซลล์สุริยะไม่ได้แก้ไขด้วยการให้ดูภาพหรือสื่ออีกรอบ
บันทึกผลหลังสอน
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ใบกำหนดงานที่ 1 กิจกรรมที่ 1 เรื่องเซลล์สุริยะ
คำชี้แจง ให้นักเรียนเขียนข้อดีและข้อจำกัดของเซลล์สุริยะมาให้มากที่สุด
( Mind mapping )
คำชี้แจง ให้นักเรียนวาดภาพอุปกรณ์ที่ใช้เซลล์สุริยะมาคนละ 1 ชิ้นให้สวยที่สุดพร้อมระบายสี
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6 เรื่อง รุ้งกินน้ำ
แผนการจัดการเรียนรู้
วิชา วิทยาศาสตร์ ช่วงชั้นที่ 2 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
โรงเรียนวัดเขาวัง(แสง ช่วงสุวนิช) หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 พลังงานแสง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6 เรื่อง รุ้งกินน้ำ จำนวน 1 คาบ
วันที่ทำการสอนวันที่ 14 ธันวาคม 2552
ผู้สอน 1.นางสาวสิรินธร พรมชาติ
มาตรฐาน ว 5.1เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานกับการดำรงชีวิต การแลกเปลี่ยนรูปพลังงาน ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสารและพลังงาน ผลของการใช้พลังงานต่อชีวิตและสิ่งแวดล้อม มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์
สาระสำคัญ รุ้งกินน้ำเป็นปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นเนื่องจากสมบัติของแสงเมื่อแสงเคลื่อนที่ผ่านตัวกลางโปร่งใสต่างชนิดกันจะทำให้เกิดการหักเหของแสง
สาระการเรียนรู้
รุ้งกินน้ำ
1. ความหมายของรุ้งกินน้ำ
2. ปัจจัยที่ทำให้เกิดรุ้งกินน้ำ
3. ทดลองการเกิดรุ้งกินน้ำ
จุดประสงค์การเรียนรู้
จุดประสงค์ปลายทาง
อธิบายการเกิดรุ้งกินน้ำได้
จุดประสงค์นำทาง
1. อธิบายความหมายของรุ้งกินน้ำได้
2. บอกปัจจัยที่ทำให้เกิดรุ้งกินน้ำได้
3. ทดลองการเกิดรุ้งกินน้ำได้
กระบวนการเรียนรู้
1. กิจกรรมนำสู่บทเรียน
1.1 การจัดทำนักเรียนโดยแบ่งนักเรียนออกเป็น 6กลุ่มด้วยวิธีนับ
1.2 ทบทวนความรู้เดิมและนำเข้าสู่บทเรียนด้วยการตั้งประเด็นคำถามดังนี้
-สิ่งที่ให้แสงสว่างที่ใหญ่ที่สุดเราเรียกว่าอะไร
- แสงอาทิตย์มีสีหรือไม่
- เมื่อแสงขาวไปกระทบกับตัวกลางโปร่งใสต่างชนิดกันเช่นอากาศกับน้ำก็จะเกิดการหักเหก็จะเกิดการสะท้อนกลับหมดก็จะเกิดแถบสี.........สีอะไรบ้าง.............แถบสีนี้เราเรียกว่า..............(สเปกตรัมของแสงอาทิตย์)
- ปรากฏการณ์เช่นนี้เราเรียกว่า.....................
- รุ้งกินน้ำคืออะไร
- เกิดขึ้นจากสิ่งใด
- แล้วจะเกิดขึ้นในทิศทางใด
1.3 อธิบายความหมายของรุ้งกินน้ำแล้วกำหนดภาระงานให้นักเรียนเขียนลงในใบกำหนดงานที่1กิจกรรมที่1เรื่องรุ้งกินน้ำ
2. กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
ขั้นที่1การจัดกลุ่ม
- ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม6กลุ่มเท่าๆกัน
ขั้นที่2ขั้นวางแผน
- สมาชิกกลุ่มร่วมกันวางแผนการทำกิจกรรม
ขั้นที่3ปฏิบัติตามแผน
- ตัวแทนกลุ่มมารับปริซึมและสเปรย์จากครู
- ครูให้นักเรียนสังเกตอุปกรณ์และเตรียมความพร้อมในการเรียนนอกห้องเรียน
ขั้นที่4อธิบายขยายความรู้
ถามนักเรียนและอธิบายประกอบภาพ
- จากการทดลองนักเรียนเห็นรุ้งกินน้ำหรือไม่
- เห็นครบทั้ง7สีหรือไม่
- นอกจากละอองน้ำจากสเปรย์และปริซึมแล้วอะไรที่ทำให้นักเรียนเห็นสีรุ้งบ้าง
- สเปกตรัมของแสงที่เราเห็นก็เป็นการแยกคลื่นออกตามความถี่ของแสงและความยาวคลื่นแสงแสงสีม่วงมีความถี่สูง(ความยาวคลื่นสั้นที่สุด)และแสงสีแดงมีความถี่ต่ำสุด(ความยาวคลื่นมากที่สุด)
ขั้นที่5สรุป
- ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปว่าเมื่อแสงขาวเคลื่อนที่ผ่านตัวกลางโปร่งใสต่างชนิดกัน ทิศทางการเคลื่อนที่ของแสงเปลี่ยนเราเรียกว่าการหักเหของแสงและกระจายออกเป็นแถบสี7สีมี ม่วง คราม น้ำเงิน เขียว เหลือง แสด แดงเราเรียกปรากฏการณ์นี้ว่ารุ้งกินน้ำ
- ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปว่าปัจจัยที่ทำให้เกิดรุ้งกินน้ำนี้มีอยู่3ปัจจัยคือแสงจากดวงอาทิตย์ จำนวนละอองน้ำต้องมากพอ แสงมุมที่ตกกระทบต้องพอเหมาะ
5.สื่อการสอน/แหล่งเรียนรู้
1.หนังสือวิทยาศาสตร์ ป.4
2.ภาพรุ้งกินน้ำ
3.สเปรย์ ปริซึม
4.ใบกิจกรรมที่1เรื่องรุ้งกินน้ำ
6.การวัดผล
1. วัดผลการอธิบายความหมายของรุ้งกินน้ำด้วยการตรวจผลการอธิบายความหมายของเลนส์ตามการตอบคำถามโดยยึดเกณฑ์ได้ถูกต้อง
2. วัดผลการบอกปัจจัยที่ทำให้เกิดรุ้งกินน้ำจากใบกำหนดงานที่1โดยยึดเกณฑ์ได้ถูกต้อง
3. วัดผลการทดลองการเกิดรุ้งกินน้ำด้วยการถาม-ตอบและใบกำหนดงานที่1โดยยึดเกณฑ์ได้ถูกต้อง
7.ประเมินผล
1. ประเมิลผลการอธิบายความหมายรุ้งกินน้ำพบว่านักเรียน.....คนอธิบายความหมายของรุ้งกินน้ำไม่ได้แก้ไขด้วยการอธิบายให้ฟังอีกรอบ
2. ประเมิลผลการบอกปัจจัยที่ทำให้เกิดรุ้งกินน้ำพบว่านักเรียน.....คนบอกปัจจัยที่ทำให้เกิดรุ้งกินน้ำไม่ได้แก้ไขด้วยการให้นักเรียนในชั้นช่วยบอกให้ฟัง
บันทึกผลหลังสอน
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ใบกำหนดงานที่1กิจกรรมที่1เรื่องรุ้งกินน้ำ
คำชี้แจง ให้นักเรียนวาดภาพรุ้งกินน้ำที่นักเรียนเห็นแล้วระบายสีให้สวยงามพร้อมบรรยายภาพและตั้งชื่อภาพ
รุ้งที่เกิดจากสเปรย์
รุ้งที่เกิดจากปริซึม
สรุปผลการทดลอง.......................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................
ใบกำหนดงานที่1กิจกรรมที่2เรื่องรุ้งกินน้ำ
คำชี้แจง พิจารณาสถานการณ์ที่กำหนดให้แล้ววิเคราะห์หาคำตอบ
น้องเมย์ไปเที่ยวน้ำตกเก้าโจนขณะที่นั่งชมน้ำตกอยู่นั้นน้องเมย์ก็มองไปเห็นรุ้งกินน้ำบริเวณใกล้น้ำตก
1.จากสถานการณ์นักเรียนคิดว่ามีความเป็นไปได้หรือไม่เพราะอะไร
...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................
2.จากสถานการณ์นี้ต้องประกอบไปด้วยปัจจัยใดบ้าง
....................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................
วิชา วิทยาศาสตร์ ช่วงชั้นที่ 2 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
โรงเรียนวัดเขาวัง(แสง ช่วงสุวนิช) หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 พลังงานแสง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6 เรื่อง รุ้งกินน้ำ จำนวน 1 คาบ
วันที่ทำการสอนวันที่ 14 ธันวาคม 2552
ผู้สอน 1.นางสาวสิรินธร พรมชาติ
มาตรฐาน ว 5.1เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานกับการดำรงชีวิต การแลกเปลี่ยนรูปพลังงาน ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสารและพลังงาน ผลของการใช้พลังงานต่อชีวิตและสิ่งแวดล้อม มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์
สาระสำคัญ รุ้งกินน้ำเป็นปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นเนื่องจากสมบัติของแสงเมื่อแสงเคลื่อนที่ผ่านตัวกลางโปร่งใสต่างชนิดกันจะทำให้เกิดการหักเหของแสง
สาระการเรียนรู้
รุ้งกินน้ำ
1. ความหมายของรุ้งกินน้ำ
2. ปัจจัยที่ทำให้เกิดรุ้งกินน้ำ
3. ทดลองการเกิดรุ้งกินน้ำ
จุดประสงค์การเรียนรู้
จุดประสงค์ปลายทาง
อธิบายการเกิดรุ้งกินน้ำได้
จุดประสงค์นำทาง
1. อธิบายความหมายของรุ้งกินน้ำได้
2. บอกปัจจัยที่ทำให้เกิดรุ้งกินน้ำได้
3. ทดลองการเกิดรุ้งกินน้ำได้
กระบวนการเรียนรู้
1. กิจกรรมนำสู่บทเรียน
1.1 การจัดทำนักเรียนโดยแบ่งนักเรียนออกเป็น 6กลุ่มด้วยวิธีนับ
1.2 ทบทวนความรู้เดิมและนำเข้าสู่บทเรียนด้วยการตั้งประเด็นคำถามดังนี้
-สิ่งที่ให้แสงสว่างที่ใหญ่ที่สุดเราเรียกว่าอะไร
- แสงอาทิตย์มีสีหรือไม่
- เมื่อแสงขาวไปกระทบกับตัวกลางโปร่งใสต่างชนิดกันเช่นอากาศกับน้ำก็จะเกิดการหักเหก็จะเกิดการสะท้อนกลับหมดก็จะเกิดแถบสี.........สีอะไรบ้าง.............แถบสีนี้เราเรียกว่า..............(สเปกตรัมของแสงอาทิตย์)
- ปรากฏการณ์เช่นนี้เราเรียกว่า.....................
- รุ้งกินน้ำคืออะไร
- เกิดขึ้นจากสิ่งใด
- แล้วจะเกิดขึ้นในทิศทางใด
1.3 อธิบายความหมายของรุ้งกินน้ำแล้วกำหนดภาระงานให้นักเรียนเขียนลงในใบกำหนดงานที่1กิจกรรมที่1เรื่องรุ้งกินน้ำ
2. กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
ขั้นที่1การจัดกลุ่ม
- ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม6กลุ่มเท่าๆกัน
ขั้นที่2ขั้นวางแผน
- สมาชิกกลุ่มร่วมกันวางแผนการทำกิจกรรม
ขั้นที่3ปฏิบัติตามแผน
- ตัวแทนกลุ่มมารับปริซึมและสเปรย์จากครู
- ครูให้นักเรียนสังเกตอุปกรณ์และเตรียมความพร้อมในการเรียนนอกห้องเรียน
ขั้นที่4อธิบายขยายความรู้
ถามนักเรียนและอธิบายประกอบภาพ
- จากการทดลองนักเรียนเห็นรุ้งกินน้ำหรือไม่
- เห็นครบทั้ง7สีหรือไม่
- นอกจากละอองน้ำจากสเปรย์และปริซึมแล้วอะไรที่ทำให้นักเรียนเห็นสีรุ้งบ้าง
- สเปกตรัมของแสงที่เราเห็นก็เป็นการแยกคลื่นออกตามความถี่ของแสงและความยาวคลื่นแสงแสงสีม่วงมีความถี่สูง(ความยาวคลื่นสั้นที่สุด)และแสงสีแดงมีความถี่ต่ำสุด(ความยาวคลื่นมากที่สุด)
ขั้นที่5สรุป
- ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปว่าเมื่อแสงขาวเคลื่อนที่ผ่านตัวกลางโปร่งใสต่างชนิดกัน ทิศทางการเคลื่อนที่ของแสงเปลี่ยนเราเรียกว่าการหักเหของแสงและกระจายออกเป็นแถบสี7สีมี ม่วง คราม น้ำเงิน เขียว เหลือง แสด แดงเราเรียกปรากฏการณ์นี้ว่ารุ้งกินน้ำ
- ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปว่าปัจจัยที่ทำให้เกิดรุ้งกินน้ำนี้มีอยู่3ปัจจัยคือแสงจากดวงอาทิตย์ จำนวนละอองน้ำต้องมากพอ แสงมุมที่ตกกระทบต้องพอเหมาะ
5.สื่อการสอน/แหล่งเรียนรู้
1.หนังสือวิทยาศาสตร์ ป.4
2.ภาพรุ้งกินน้ำ
3.สเปรย์ ปริซึม
4.ใบกิจกรรมที่1เรื่องรุ้งกินน้ำ
6.การวัดผล
1. วัดผลการอธิบายความหมายของรุ้งกินน้ำด้วยการตรวจผลการอธิบายความหมายของเลนส์ตามการตอบคำถามโดยยึดเกณฑ์ได้ถูกต้อง
2. วัดผลการบอกปัจจัยที่ทำให้เกิดรุ้งกินน้ำจากใบกำหนดงานที่1โดยยึดเกณฑ์ได้ถูกต้อง
3. วัดผลการทดลองการเกิดรุ้งกินน้ำด้วยการถาม-ตอบและใบกำหนดงานที่1โดยยึดเกณฑ์ได้ถูกต้อง
7.ประเมินผล
1. ประเมิลผลการอธิบายความหมายรุ้งกินน้ำพบว่านักเรียน.....คนอธิบายความหมายของรุ้งกินน้ำไม่ได้แก้ไขด้วยการอธิบายให้ฟังอีกรอบ
2. ประเมิลผลการบอกปัจจัยที่ทำให้เกิดรุ้งกินน้ำพบว่านักเรียน.....คนบอกปัจจัยที่ทำให้เกิดรุ้งกินน้ำไม่ได้แก้ไขด้วยการให้นักเรียนในชั้นช่วยบอกให้ฟัง
บันทึกผลหลังสอน
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ใบกำหนดงานที่1กิจกรรมที่1เรื่องรุ้งกินน้ำ
คำชี้แจง ให้นักเรียนวาดภาพรุ้งกินน้ำที่นักเรียนเห็นแล้วระบายสีให้สวยงามพร้อมบรรยายภาพและตั้งชื่อภาพ
รุ้งที่เกิดจากสเปรย์
รุ้งที่เกิดจากปริซึม
สรุปผลการทดลอง.......................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................
ใบกำหนดงานที่1กิจกรรมที่2เรื่องรุ้งกินน้ำ
คำชี้แจง พิจารณาสถานการณ์ที่กำหนดให้แล้ววิเคราะห์หาคำตอบ
น้องเมย์ไปเที่ยวน้ำตกเก้าโจนขณะที่นั่งชมน้ำตกอยู่นั้นน้องเมย์ก็มองไปเห็นรุ้งกินน้ำบริเวณใกล้น้ำตก
1.จากสถานการณ์นักเรียนคิดว่ามีความเป็นไปได้หรือไม่เพราะอะไร
...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................
2.จากสถานการณ์นี้ต้องประกอบไปด้วยปัจจัยใดบ้าง
....................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 เรื่องการหักเหของแสงผ่านเลนส์
แผนการจัดการเรียนรู้
วิชา วิทยาศาสตร์ ช่วงชั้นที่ 2 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
โรงเรียนวัดเขาวัง(แสง ช่วงสุวนิช) หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 พลังงานแสง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 เรื่องการหักเหของแสงผ่านเลนส์ จำนวน 1 คาบ
วันที่ทำการสอนวันที่ 2 ธันวาคม 2552
ผู้สอน 1.นางสาวสิรินธร พรมชาติ
มาตรฐาน ว 5.1 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานกับการดำรงชีวิต การแลกเปลี่ยนรูปพลังงาน ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสารและพลังงาน ผลของการใช้พลังงานต่อชีวิตและสิ่งแวดล้อม มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์
1.สาระสำคัญ เลนส์คือ แก้วโปร่งใสหรือพลาสติกโปร่งใสมีผิวโค้งหนึ่งผิวหรือสองผิวซึ่งมีสมบัติในการหักเหลำแสงบริเวณตรงกลางเลนส์และขอบเลนส์มีความหนาแตกต่างกันผู้เรียนควรเรียนรู้ความหมายของเลนส์ ชนิดของเลนส์ ประโยชน์และการเลือกใช้เลนส์และการทดลองการหักเหของแสงผ่านเลนส์
2.สาระการเรียนรู้
การหักเหของแสงผ่านเลนส์
1. ความหมายของเลนส์
2. ชนิดของเลนส์
3. ประโยชน์และการเลือกใช้เลนส์
4. การทดลองการหักเหของแสงผ่านเลนส์
3.จุดประสงค์การเรียนรู้
จุดประสงค์ปลายทาง
อธิบายการหักเหของแสงผ่านเลนส์ได้
จุดประสงค์นำทาง
1. อธิบายความหมายของเลนส์ได้
2. จำแนกชนิดของเลนส์ได้
3. บอกประโยชน์และการเลือกใช้เลนส์ได้
4. ทดลองการหักเหของแสงผ่านเลนส์ได้
4.กระบวนการเรียนรู้
1. กิจกรรมนำสู่บทเรียน
1.1 การจัดนักเรียนโดยแบ่งนักเรียนออกเป็น 6 กลุ่ม
1.2 ทบทวนความรู้เดิมและนำเข้าสู่บทเรียนด้วยการตั้งประเด็นคำถามดังนี้
-นักเรียนรู้จักและเคยเห็นแว่นตาหรือไม่
-กระจกแว่นตาทำจากอะไร
-กระจกแว่นตาเป็นตัวกลางประเภทใด
ครูให้นักเรียนช่วยกันยกตัวอย่างอุปกรณ์ต่างๆที่มีเลนส์เป็นส่วนประกอบ(แว่นขยาย กล้องถ่ายรูป กล้องโทรทัศน์ กล้องส่องทางไกล)
1.3 อธิบายความหมายของเลนส์และชนิดของเลนส์แล้วกำหนดภาระงานให้นักเรียนเขียนลงในสมุด
2. กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
ขั้นที่1การจัดกลุ่ม
- ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม6กลุ่มเท่าๆกัน
ขั้นที่2ขั้นวางแผน
- สมาชิกกลุ่มร่วมกันวางแผนการทำกิจกรรม
ขั้นที่3ปฏิบัติตามแผน
-ตัวแทนกลุ่มมารับเลนส์เว้ากับเลนส์นูนจากครู
-ครูให้นักเรียนสังเกตลักษณะเลนส์และเปรียบเทียบกันจากนั้นให้นักเรียนแสดงความคิดเห็นว่าถ้าแสงเคลื่อนที่ผ่านเลนส์ทั้งสองนี้จะมีการหักเหแตกต่างกันหรือไม่ อย่างไร
ขั้นที่4อธิบายขยายความรู้
ถามนักเรียนและอธิบายประกอบภาพ
-นักเรียนคิดว่าเลนส์มีประโยชน์อย่างไร
-การเลือกใช้เลนส์นักเรียนคิดว่าถ้าคนสายตาสั้นควรตัดแว่นที่มีเลนส์ชนิดใด
-การเลือกใช้เลนส์นักเรียนคิดว่าถ้าคนสายตายาวควรตัดแว่นที่มีเลนส์ชนิดใด
-แต่ละกลุ่มทำการทดลองและบันทึกผล
ขั้นที่5สรุป
-ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปว่าเมื่อแสงเคลื่อนที่ผ่านตัวกลางโปร่งใสต่างชนิดกัน ทิศทางการเคลื่อนที่ของแสงเปลี่ยนและมองเห็นวัตถุนั้นผิดไปจากเดิมเราเรียกว่าการหักเหของแสง
-ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปว่าเลนส์คือ แก้วโปร่งใสหรือพลาสติกโปร่งใสมีผิวโค้งหนึ่งผิวหรือสองผิวซึ่งมีสมบัติในการหักเหลำแสงบริเวณตรงกลางเลนส์และขอบเลนส์มีความหนาแตกต่างกันซึ่งเลนส์มี2ชนิดคือเว้าและนูน
คนสายตาสั้นควรใส่แว่นที่ทำจากเลนส์เว้าส่วนคนสายตายาวควรใส่แว่นที่ทำจากเลนส์นูน
-เลนส์นูนจะรวมแสงส่วนเลนส์เว้าจะกระจายแสง
5.สื่อการสอน/แหล่งเรียนรู้
1. หนังสือวิทยาศาสตร์ ป.4
2. ภาพการหักเหของแสงผ่านเลนส์
3. เลนส์เว้าและเลนส์นูน
4. ใบกิจกรรมที่1การหักเหของแสงผ่านเลนส์
6.การวัดผล
1. วัดผลการอธิบายความหมายของเลนส์ด้วยการตรวจผลการอธิบายความหมายของเลนส์ตามการตอบคำถามโดยยึดเกณฑ์ได้ถูกต้อง
2. วัดผลการจำแนกชนิดของเลนส์จากใบกำหนดงานที่1โดยยึดเกณฑ์ได้ถูกต้อง
3. วัดผลการบอกประโยชน์และการเลือกใช้เลนส์ด้วยการถาม-ตอบและใบกำหนดงาน
ที่1โดยยึดเกณฑ์ได้ถูกต้อง
7.ประเมินผล
1. ประเมิลผลการอธิบายความหมายของเลนส์พบว่านักเรียน.....คนอธิบายความหมายของเลนส์ไม่ได้แก้ไขด้วยการอธิบายให้ฟังอีกรอบ
2. ประเมิลผลการจำแนกชนิดของเลนส์พบว่านักเรียน.....คนจำแนกชนิดของเลนส์ไม่ได้แก้ไขด้วยการให้นักเรียนในชั้นช่วยจำแนกให้ฟัง
3. ประเมิลผลการทดลองการหักเหของแสงผ่านเลนส์พบว่านักเรียน.....คนทดลองการหักเหของแสงผ่านเลนส์ไม่ได้แก้ไขด้วยการทำการทดลองให้ดูอีกรอบ
บันทึกผลหลังสอน
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ใบกิจกรรมที่1การหักเหของแสงผ่านเลนส์
จุดประสงค์ เพื่อศึกษาการหักเหของแสงผ่านเลนส์นูนและเลนส์เว้า
อุปกรณ์
1.เลนส์นูน 1 อัน
2.เลนส์เว้า 1 อัน
3.กระดาษสีดำ
4.ไฟฉาย
วิธีทำ
1.ให้ทำการทดลองในห้องเรียนโดยนำกระดาษสีดำวางบนพื้นแล้วยกเลนส์นูนขึ้นรับแสงโดยให้แนวลำแสงผ่านเลนส์ลงบนกระดาษสีดำแล้วสังเกตแนวลำแสงบนกระดาษ
2.ทำเหมือนข้อ1 แต่ให้เปลี่ยนเป็นเลนส์เว้า
บันทึกผล
วาดภาพเมื่อแสงผ่านเลนส์นูน วาดภาพเมื่อแสงผ่านเลนส์เว้า
สรุปผลการทดลอง
1.เมื่อนำเลนส์นูนรับแสงลำแสงในกระดาษมีลักษณะอย่างไร
...........................................................................................................................................
2.เมื่อนำเลนส์เว้ารับแสงลำแสงในกระดาษมีลักษณะอย่างไร
...........................................................................................................................................
3.ลำแสงเมื่อผ่านเลนส์นูนและเลนส์เว้ามีลักษณะเหมือนกัน หรือ ต่างกัน
คือ......................................................................................................................................................................................................................................................................................
แบบประเมินผลงานสมุดบันทึกความรู้
กลุ่มที่(ชื่อกลุ่ม)...............................................................................................................
สมาชิกในกลุ่ม
1. 2.
3. 4.
5. 6.
7. 8.
คำชี้แจง: ให้ผู้ประเมินขีด /ลงในช่องที่ตรงกับระดับคะแนน (ตามเกณฑ์)
ประเด็นที่ประเมิน
ผู้ประเมิน
ตนเอง
เพื่อน
ครู
4
3
2
1
4
3
2
1
4
3
2
1
1.ตรงจุดประสงค์ที่กำหนด
2.มีความถูกต้องสมบูรณ์
3.มีความคิดสร้างสรรค์
4.มีความเป็นระเบียบ
รวม
รวมทุกรายการ
เฉลี่ย
ผู้ประเมิน.......................................(ตนเอง)
ผู้ประเมิน.......................................(เพื่อน)
ผู้ประเมิน.......................................(ครู)
แบบประเมินทักษะในการปฏิบัติการทดลอง
วิชา ชั้น
หน่วยการเรียนรู้ที่ กิจกรรม
คำชี้แจง: ให้ผู้สอนประเมินจากการสังเกตพฤติกรรมของผู้เรียนในการปฏิบัติกิจกรรม ทดลองโดยให้ระดับคะแนนลงในตารางที่ตรงกับพฤติกรรมของผู้เรียน
เกณฑ์การให้คะแนน 3 = ดี 2 = พอใช้ 1 = ต้องปรับปรุง
เลขที่
ชื่อ สกุล
รายการประเมิน
รวม12คะแนน
สรุปการประเมิน
วิธีดำเนินการทดลอง
การปฏิบัติการทดลอง
ความคล่องแคล่วในการทำการทดลอง
การนำเสนอ
คะแนนที่ทำได้
ผ่าน
ไม่ผ่าน
ลงชื่อ....................................ผู้ประเมิน
…../……./……
แบบสังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม
กลุ่มที่(ชื่อกลุ่ม)..................................................................................................................
สมาชิกในกลุ่ม1. 2.
3. 4.
5. 6.
7. 8.
คำชี้แจง: ให้นักเรียนทำเครื่องหมาย / ในช่องที่ตรงกับความเป็นจริง
พฤติกรรมที่สังเกต
คะแนน
3
2
1
1.มีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็น
2.มีความกระตือรือร้นในการทำงาน
3.รับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย
4.มีขั้นตอนในการทำงานอย่างเป็นระบบ
5.ใช้เวลาในการทำงานอย่างเหมาะสม
รวม
เกณฑ์การให้คะแนน
พฤติกรรมที่ทำเป็นประจำ ให้ 3 คะแนน
พฤติกรรมที่ทำเป็นบางครั้ง ให้ 2คะแนน
พฤติกรรมที่ทำน้อยครั้ง ให้ 1 คะแนน
เกณฑ์การให้คะแนน
ช่วงคะแนน
ระดับคุณภาพ
13-15
ดี
8-12
ปานกลาง
5-7
ปรับปรุง
วิชา วิทยาศาสตร์ ช่วงชั้นที่ 2 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
โรงเรียนวัดเขาวัง(แสง ช่วงสุวนิช) หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 พลังงานแสง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 เรื่องการหักเหของแสงผ่านเลนส์ จำนวน 1 คาบ
วันที่ทำการสอนวันที่ 2 ธันวาคม 2552
ผู้สอน 1.นางสาวสิรินธร พรมชาติ
มาตรฐาน ว 5.1 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานกับการดำรงชีวิต การแลกเปลี่ยนรูปพลังงาน ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสารและพลังงาน ผลของการใช้พลังงานต่อชีวิตและสิ่งแวดล้อม มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์
1.สาระสำคัญ เลนส์คือ แก้วโปร่งใสหรือพลาสติกโปร่งใสมีผิวโค้งหนึ่งผิวหรือสองผิวซึ่งมีสมบัติในการหักเหลำแสงบริเวณตรงกลางเลนส์และขอบเลนส์มีความหนาแตกต่างกันผู้เรียนควรเรียนรู้ความหมายของเลนส์ ชนิดของเลนส์ ประโยชน์และการเลือกใช้เลนส์และการทดลองการหักเหของแสงผ่านเลนส์
2.สาระการเรียนรู้
การหักเหของแสงผ่านเลนส์
1. ความหมายของเลนส์
2. ชนิดของเลนส์
3. ประโยชน์และการเลือกใช้เลนส์
4. การทดลองการหักเหของแสงผ่านเลนส์
3.จุดประสงค์การเรียนรู้
จุดประสงค์ปลายทาง
อธิบายการหักเหของแสงผ่านเลนส์ได้
จุดประสงค์นำทาง
1. อธิบายความหมายของเลนส์ได้
2. จำแนกชนิดของเลนส์ได้
3. บอกประโยชน์และการเลือกใช้เลนส์ได้
4. ทดลองการหักเหของแสงผ่านเลนส์ได้
4.กระบวนการเรียนรู้
1. กิจกรรมนำสู่บทเรียน
1.1 การจัดนักเรียนโดยแบ่งนักเรียนออกเป็น 6 กลุ่ม
1.2 ทบทวนความรู้เดิมและนำเข้าสู่บทเรียนด้วยการตั้งประเด็นคำถามดังนี้
-นักเรียนรู้จักและเคยเห็นแว่นตาหรือไม่
-กระจกแว่นตาทำจากอะไร
-กระจกแว่นตาเป็นตัวกลางประเภทใด
ครูให้นักเรียนช่วยกันยกตัวอย่างอุปกรณ์ต่างๆที่มีเลนส์เป็นส่วนประกอบ(แว่นขยาย กล้องถ่ายรูป กล้องโทรทัศน์ กล้องส่องทางไกล)
1.3 อธิบายความหมายของเลนส์และชนิดของเลนส์แล้วกำหนดภาระงานให้นักเรียนเขียนลงในสมุด
2. กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
ขั้นที่1การจัดกลุ่ม
- ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม6กลุ่มเท่าๆกัน
ขั้นที่2ขั้นวางแผน
- สมาชิกกลุ่มร่วมกันวางแผนการทำกิจกรรม
ขั้นที่3ปฏิบัติตามแผน
-ตัวแทนกลุ่มมารับเลนส์เว้ากับเลนส์นูนจากครู
-ครูให้นักเรียนสังเกตลักษณะเลนส์และเปรียบเทียบกันจากนั้นให้นักเรียนแสดงความคิดเห็นว่าถ้าแสงเคลื่อนที่ผ่านเลนส์ทั้งสองนี้จะมีการหักเหแตกต่างกันหรือไม่ อย่างไร
ขั้นที่4อธิบายขยายความรู้
ถามนักเรียนและอธิบายประกอบภาพ
-นักเรียนคิดว่าเลนส์มีประโยชน์อย่างไร
-การเลือกใช้เลนส์นักเรียนคิดว่าถ้าคนสายตาสั้นควรตัดแว่นที่มีเลนส์ชนิดใด
-การเลือกใช้เลนส์นักเรียนคิดว่าถ้าคนสายตายาวควรตัดแว่นที่มีเลนส์ชนิดใด
-แต่ละกลุ่มทำการทดลองและบันทึกผล
ขั้นที่5สรุป
-ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปว่าเมื่อแสงเคลื่อนที่ผ่านตัวกลางโปร่งใสต่างชนิดกัน ทิศทางการเคลื่อนที่ของแสงเปลี่ยนและมองเห็นวัตถุนั้นผิดไปจากเดิมเราเรียกว่าการหักเหของแสง
-ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปว่าเลนส์คือ แก้วโปร่งใสหรือพลาสติกโปร่งใสมีผิวโค้งหนึ่งผิวหรือสองผิวซึ่งมีสมบัติในการหักเหลำแสงบริเวณตรงกลางเลนส์และขอบเลนส์มีความหนาแตกต่างกันซึ่งเลนส์มี2ชนิดคือเว้าและนูน
คนสายตาสั้นควรใส่แว่นที่ทำจากเลนส์เว้าส่วนคนสายตายาวควรใส่แว่นที่ทำจากเลนส์นูน
-เลนส์นูนจะรวมแสงส่วนเลนส์เว้าจะกระจายแสง
5.สื่อการสอน/แหล่งเรียนรู้
1. หนังสือวิทยาศาสตร์ ป.4
2. ภาพการหักเหของแสงผ่านเลนส์
3. เลนส์เว้าและเลนส์นูน
4. ใบกิจกรรมที่1การหักเหของแสงผ่านเลนส์
6.การวัดผล
1. วัดผลการอธิบายความหมายของเลนส์ด้วยการตรวจผลการอธิบายความหมายของเลนส์ตามการตอบคำถามโดยยึดเกณฑ์ได้ถูกต้อง
2. วัดผลการจำแนกชนิดของเลนส์จากใบกำหนดงานที่1โดยยึดเกณฑ์ได้ถูกต้อง
3. วัดผลการบอกประโยชน์และการเลือกใช้เลนส์ด้วยการถาม-ตอบและใบกำหนดงาน
ที่1โดยยึดเกณฑ์ได้ถูกต้อง
7.ประเมินผล
1. ประเมิลผลการอธิบายความหมายของเลนส์พบว่านักเรียน.....คนอธิบายความหมายของเลนส์ไม่ได้แก้ไขด้วยการอธิบายให้ฟังอีกรอบ
2. ประเมิลผลการจำแนกชนิดของเลนส์พบว่านักเรียน.....คนจำแนกชนิดของเลนส์ไม่ได้แก้ไขด้วยการให้นักเรียนในชั้นช่วยจำแนกให้ฟัง
3. ประเมิลผลการทดลองการหักเหของแสงผ่านเลนส์พบว่านักเรียน.....คนทดลองการหักเหของแสงผ่านเลนส์ไม่ได้แก้ไขด้วยการทำการทดลองให้ดูอีกรอบ
บันทึกผลหลังสอน
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ใบกิจกรรมที่1การหักเหของแสงผ่านเลนส์
จุดประสงค์ เพื่อศึกษาการหักเหของแสงผ่านเลนส์นูนและเลนส์เว้า
อุปกรณ์
1.เลนส์นูน 1 อัน
2.เลนส์เว้า 1 อัน
3.กระดาษสีดำ
4.ไฟฉาย
วิธีทำ
1.ให้ทำการทดลองในห้องเรียนโดยนำกระดาษสีดำวางบนพื้นแล้วยกเลนส์นูนขึ้นรับแสงโดยให้แนวลำแสงผ่านเลนส์ลงบนกระดาษสีดำแล้วสังเกตแนวลำแสงบนกระดาษ
2.ทำเหมือนข้อ1 แต่ให้เปลี่ยนเป็นเลนส์เว้า
บันทึกผล
วาดภาพเมื่อแสงผ่านเลนส์นูน วาดภาพเมื่อแสงผ่านเลนส์เว้า
สรุปผลการทดลอง
1.เมื่อนำเลนส์นูนรับแสงลำแสงในกระดาษมีลักษณะอย่างไร
...........................................................................................................................................
2.เมื่อนำเลนส์เว้ารับแสงลำแสงในกระดาษมีลักษณะอย่างไร
...........................................................................................................................................
3.ลำแสงเมื่อผ่านเลนส์นูนและเลนส์เว้ามีลักษณะเหมือนกัน หรือ ต่างกัน
คือ......................................................................................................................................................................................................................................................................................
แบบประเมินผลงานสมุดบันทึกความรู้
กลุ่มที่(ชื่อกลุ่ม)...............................................................................................................
สมาชิกในกลุ่ม
1. 2.
3. 4.
5. 6.
7. 8.
คำชี้แจง: ให้ผู้ประเมินขีด /ลงในช่องที่ตรงกับระดับคะแนน (ตามเกณฑ์)
ประเด็นที่ประเมิน
ผู้ประเมิน
ตนเอง
เพื่อน
ครู
4
3
2
1
4
3
2
1
4
3
2
1
1.ตรงจุดประสงค์ที่กำหนด
2.มีความถูกต้องสมบูรณ์
3.มีความคิดสร้างสรรค์
4.มีความเป็นระเบียบ
รวม
รวมทุกรายการ
เฉลี่ย
ผู้ประเมิน.......................................(ตนเอง)
ผู้ประเมิน.......................................(เพื่อน)
ผู้ประเมิน.......................................(ครู)
แบบประเมินทักษะในการปฏิบัติการทดลอง
วิชา ชั้น
หน่วยการเรียนรู้ที่ กิจกรรม
คำชี้แจง: ให้ผู้สอนประเมินจากการสังเกตพฤติกรรมของผู้เรียนในการปฏิบัติกิจกรรม ทดลองโดยให้ระดับคะแนนลงในตารางที่ตรงกับพฤติกรรมของผู้เรียน
เกณฑ์การให้คะแนน 3 = ดี 2 = พอใช้ 1 = ต้องปรับปรุง
เลขที่
ชื่อ สกุล
รายการประเมิน
รวม12คะแนน
สรุปการประเมิน
วิธีดำเนินการทดลอง
การปฏิบัติการทดลอง
ความคล่องแคล่วในการทำการทดลอง
การนำเสนอ
คะแนนที่ทำได้
ผ่าน
ไม่ผ่าน
ลงชื่อ....................................ผู้ประเมิน
…../……./……
แบบสังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม
กลุ่มที่(ชื่อกลุ่ม)..................................................................................................................
สมาชิกในกลุ่ม1. 2.
3. 4.
5. 6.
7. 8.
คำชี้แจง: ให้นักเรียนทำเครื่องหมาย / ในช่องที่ตรงกับความเป็นจริง
พฤติกรรมที่สังเกต
คะแนน
3
2
1
1.มีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็น
2.มีความกระตือรือร้นในการทำงาน
3.รับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย
4.มีขั้นตอนในการทำงานอย่างเป็นระบบ
5.ใช้เวลาในการทำงานอย่างเหมาะสม
รวม
เกณฑ์การให้คะแนน
พฤติกรรมที่ทำเป็นประจำ ให้ 3 คะแนน
พฤติกรรมที่ทำเป็นบางครั้ง ให้ 2คะแนน
พฤติกรรมที่ทำน้อยครั้ง ให้ 1 คะแนน
เกณฑ์การให้คะแนน
ช่วงคะแนน
ระดับคุณภาพ
13-15
ดี
8-12
ปานกลาง
5-7
ปรับปรุง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องการหักเหของแสง
แผนการจัดการเรียนรู้
วิชา วิทยาศาสตร์ ช่วงชั้นที่ 2 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
โรงเรียนวัดเขาวัง(แสง ช่วงสุวนิช) หน่วยการเรียนรู้ที่4 พลังงานแสง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องการหักเหของแสง จำนวน 1 คาบ
วันที่ทำการสอนวันที่ 23 พฤศจิกายน 2552
ผู้สอน 1.นางสาวสิรินธร พรมชาติ
มาตรฐาน ว 5.1เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานกับการดำรงชีวิต การแลกเปลี่ยนรูปพลังงาน ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสารและพลังงาน ผลของการใช้พลังงานต่อชีวิตและสิ่งแวดล้อม มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์
สาระสำคัญ การหักเหของแสงคือการที่แสงเคลื่อนผ่านตัวกลางโปร่งใส2ชนิดที่แตกต่างกันและมีการเปลี่ยนแปลงแนวการเคลื่อนที่ของแสง ผู้เรียนควรเรียนรู้ความหมายของการหักเหของแสง กฎการหักเหของแสง การหักเหของแสงผ่านเลนส์ ชนิดของเลนส์ปรากฏการณ์ที่เกิดจากการหักเหของแสงและการทดลองการหักเหของแสง
สาระการเรียนรู้
การหักเหของแสง
1. ความหมายของการหักเหของแสง
2. กฎการหักเหของแสง
3. ปรากฏการณ์ที่เกิดจากการหักเหของแสง
4. การทดลองการหักเหของแสง
จุดประสงค์การเรียนรู้
จุดประสงค์ปลายทาง
นักเรียนอธิบายการหักเหของแสงได้
จุดประสงค์นำทาง
1. นักเรียนอธิบายความหมายของการหักเหของแสงได้
2. นักเรียนบอกกฎการหักเหของแสงได้
3. นักเรียนบอกปรากฏการณ์ที่เกิดจากการหักเหของแสงได้
4. นักเรียนทดลองการหักเหของแสงได้
กระบวนการเรียนรู้
1. กิจกรรมนำสู่บทเรียน
1.1 การจัดทำนักเรียนโดยแบ่งนักเรียนออกเป็น 6 กลุ่ม
1.2 ทบทวนความรู้เดิมและนำเข้าสู่บทเรียนด้วยการตั้งประเด็นคำถามดังนี้
-นักเรียนรู้จักการหักเหของแสงหรือไม่
-นักเรียนเคยมองปลาผ่านตูกระจกหรือไม่
-นักเรียนเคยไปยืนในสระน้ำหรือไม่แล้วสังเกตขาตัวเองแตกต่างจากเดิมอย่างไร
-นักเรียนเคยเล่นเหรียญในน้ำหรือไม่ ลักษณะเหรียญเป็นอย่างไร
จากนั้นครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้
1.3 อธิบายความหมายและกฎการหักเหของแสงและวาดรูปให้ดูแล้วกำหนดภาระงานให้นักเรียนเขียนลงในสมุด
2. กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
2.1 ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม6กลุ่มเท่าๆกัน
2.2 ครูและนักเรียนร่วมกันทำการทดลองและบันทึกผลการทดลองลงในสมุด
2.3 นักเรียนร่วมกันนำข้อมูลที่ได้มาอภิปรายเพื่อหาข้อสรุป
3. ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป
3.1 นักเรียนส่งตัวแทน1คนมานำเสนอผลการทดลอง
3.2 ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายเพื่อให้ได้ข้อสรุปว่าเมื่อแสงเดินทางผ่านอากาศไปยังแก้วทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแนวการเคลื่อนที่ของแสง
3.3 ครูถามนักเรียนว่าอากาศและแก้วจัดเป็นตัวกลางชนิดใดซึ่งนักเรียนควรตอบได้ว่าตัวกลางโปร่งใส
3.4 นักเรียนสรุปหลักการหักเหของแสงพร้อมกันว่าเมื่อแสงเคลื่อนที่ผ่านตัวกลางโปร่งใสต่างชนิดกัน ทิศทางการเคลื่อนที่ของแสงเปลี่ยนเรียกว่าการหักเหของแสงล
4.ขั้นขยายความรู้
1. ครูซักถามนักเรียนว่าการหักเหของแสงทำให้เกิดการมองเห็นภาพเปลี่ยนแปลงจากเดิมในลักษณะใดบ้าง
2. ครูซักถามนักเรียนว่านักเรียนเห็นเหรียญมีขนาดใหญ่เพราะอะไร
3. ครูซักถามนักเรียนว่านักเรียนเห็นปลาในน้ำอยู่ตื้นกว่าปกติเพราะว่าอะไร
4. ครูซักถามนักเรียนว่าเห็นหลอดที่อยู่ในแก้วงอผิดไปจากเดิมเพราะอะไร
5. ครูซักถามว่าปรากฏการณ์ที่เกิดจากการหักเหของแสงมีอะไรบ้าง
5. ขั้นสรุป
เมื่อแสงเคลื่อนที่ผ่านตัวกลางโปร่งใสต่างชนิดกัน ทิศทางการเคลื่อนที่ของแสงเปลี่ยนและมองเห็นวัตถุนั้นผิดไปจากเดิมเราเรียกว่าการหักเหของแสง
6.การวัดผล
1. วัดผลการอธิบายความหมายของการหักเหของแสง จากการอธิบายในสมุดโดยยึดเกณฑ์ได้ถูกต้อง
2. วัดผลการบอกกฎการหักเหของแสงจากการถามนักเรียนโดยยึดเกณฑ์ได้ถูกต้อง
3. วัดผลการบอกปรากฏการณ์ที่เกิดจากการหักเหของแสงจากการถามนักเรียนโดยยึดเกณฑ์ได้ถูกต้อง
4. วัดผลการทดลองการหักเหของแสงจากชิ้นงานและภาพที่นักเรียนวาดโดยยึดเกณฑ์ได้ถูกต้อง
ประเมินผล
1. ประเมิลผลการความหมายของการหักเหของแสง อธิบายพบว่านักเรียน.....คนอธิบายความหมายของการหักเหของแสง ไม่ได้แก้ไขด้วยการอธิบายให้ฟังอีกรอบ
2. ประเมิลผลการบอกกฎการหักเหของแสงพบว่านักเรียน.....คนบอกกฎการหักเหของแสงไม่ได้แก้ไขด้วยการอธิบายให้ฟังอีกรอบ
3. ประเมิลผลการบอกปรากฏการณ์ที่เกิดจากการหักเหของแสงพบว่านักเรียน.....คนบอกกฎการหักเหของแสงไม่ได้แก้ไขด้วยการอธิบายให้ฟังอีกรอบ
4. ประเมิลผลการทดลองการหักเหของแสงพบว่านักเรียน.....คนทดลองการหักเหของแสงไม่ได้แก้ไขด้วยการทดลองอีกรอบ
สื่อการสอน
1.หนังสือวิทยาศาสตร์ ป.4
2.อุปกรณ์การทดลอง
บันทึกผลหลังสอน
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
วิชา วิทยาศาสตร์ ช่วงชั้นที่ 2 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
โรงเรียนวัดเขาวัง(แสง ช่วงสุวนิช) หน่วยการเรียนรู้ที่4 พลังงานแสง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องการหักเหของแสง จำนวน 1 คาบ
วันที่ทำการสอนวันที่ 23 พฤศจิกายน 2552
ผู้สอน 1.นางสาวสิรินธร พรมชาติ
มาตรฐาน ว 5.1เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานกับการดำรงชีวิต การแลกเปลี่ยนรูปพลังงาน ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสารและพลังงาน ผลของการใช้พลังงานต่อชีวิตและสิ่งแวดล้อม มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์
สาระสำคัญ การหักเหของแสงคือการที่แสงเคลื่อนผ่านตัวกลางโปร่งใส2ชนิดที่แตกต่างกันและมีการเปลี่ยนแปลงแนวการเคลื่อนที่ของแสง ผู้เรียนควรเรียนรู้ความหมายของการหักเหของแสง กฎการหักเหของแสง การหักเหของแสงผ่านเลนส์ ชนิดของเลนส์ปรากฏการณ์ที่เกิดจากการหักเหของแสงและการทดลองการหักเหของแสง
สาระการเรียนรู้
การหักเหของแสง
1. ความหมายของการหักเหของแสง
2. กฎการหักเหของแสง
3. ปรากฏการณ์ที่เกิดจากการหักเหของแสง
4. การทดลองการหักเหของแสง
จุดประสงค์การเรียนรู้
จุดประสงค์ปลายทาง
นักเรียนอธิบายการหักเหของแสงได้
จุดประสงค์นำทาง
1. นักเรียนอธิบายความหมายของการหักเหของแสงได้
2. นักเรียนบอกกฎการหักเหของแสงได้
3. นักเรียนบอกปรากฏการณ์ที่เกิดจากการหักเหของแสงได้
4. นักเรียนทดลองการหักเหของแสงได้
กระบวนการเรียนรู้
1. กิจกรรมนำสู่บทเรียน
1.1 การจัดทำนักเรียนโดยแบ่งนักเรียนออกเป็น 6 กลุ่ม
1.2 ทบทวนความรู้เดิมและนำเข้าสู่บทเรียนด้วยการตั้งประเด็นคำถามดังนี้
-นักเรียนรู้จักการหักเหของแสงหรือไม่
-นักเรียนเคยมองปลาผ่านตูกระจกหรือไม่
-นักเรียนเคยไปยืนในสระน้ำหรือไม่แล้วสังเกตขาตัวเองแตกต่างจากเดิมอย่างไร
-นักเรียนเคยเล่นเหรียญในน้ำหรือไม่ ลักษณะเหรียญเป็นอย่างไร
จากนั้นครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้
1.3 อธิบายความหมายและกฎการหักเหของแสงและวาดรูปให้ดูแล้วกำหนดภาระงานให้นักเรียนเขียนลงในสมุด
2. กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
2.1 ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม6กลุ่มเท่าๆกัน
2.2 ครูและนักเรียนร่วมกันทำการทดลองและบันทึกผลการทดลองลงในสมุด
2.3 นักเรียนร่วมกันนำข้อมูลที่ได้มาอภิปรายเพื่อหาข้อสรุป
3. ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป
3.1 นักเรียนส่งตัวแทน1คนมานำเสนอผลการทดลอง
3.2 ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายเพื่อให้ได้ข้อสรุปว่าเมื่อแสงเดินทางผ่านอากาศไปยังแก้วทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแนวการเคลื่อนที่ของแสง
3.3 ครูถามนักเรียนว่าอากาศและแก้วจัดเป็นตัวกลางชนิดใดซึ่งนักเรียนควรตอบได้ว่าตัวกลางโปร่งใส
3.4 นักเรียนสรุปหลักการหักเหของแสงพร้อมกันว่าเมื่อแสงเคลื่อนที่ผ่านตัวกลางโปร่งใสต่างชนิดกัน ทิศทางการเคลื่อนที่ของแสงเปลี่ยนเรียกว่าการหักเหของแสงล
4.ขั้นขยายความรู้
1. ครูซักถามนักเรียนว่าการหักเหของแสงทำให้เกิดการมองเห็นภาพเปลี่ยนแปลงจากเดิมในลักษณะใดบ้าง
2. ครูซักถามนักเรียนว่านักเรียนเห็นเหรียญมีขนาดใหญ่เพราะอะไร
3. ครูซักถามนักเรียนว่านักเรียนเห็นปลาในน้ำอยู่ตื้นกว่าปกติเพราะว่าอะไร
4. ครูซักถามนักเรียนว่าเห็นหลอดที่อยู่ในแก้วงอผิดไปจากเดิมเพราะอะไร
5. ครูซักถามว่าปรากฏการณ์ที่เกิดจากการหักเหของแสงมีอะไรบ้าง
5. ขั้นสรุป
เมื่อแสงเคลื่อนที่ผ่านตัวกลางโปร่งใสต่างชนิดกัน ทิศทางการเคลื่อนที่ของแสงเปลี่ยนและมองเห็นวัตถุนั้นผิดไปจากเดิมเราเรียกว่าการหักเหของแสง
6.การวัดผล
1. วัดผลการอธิบายความหมายของการหักเหของแสง จากการอธิบายในสมุดโดยยึดเกณฑ์ได้ถูกต้อง
2. วัดผลการบอกกฎการหักเหของแสงจากการถามนักเรียนโดยยึดเกณฑ์ได้ถูกต้อง
3. วัดผลการบอกปรากฏการณ์ที่เกิดจากการหักเหของแสงจากการถามนักเรียนโดยยึดเกณฑ์ได้ถูกต้อง
4. วัดผลการทดลองการหักเหของแสงจากชิ้นงานและภาพที่นักเรียนวาดโดยยึดเกณฑ์ได้ถูกต้อง
ประเมินผล
1. ประเมิลผลการความหมายของการหักเหของแสง อธิบายพบว่านักเรียน.....คนอธิบายความหมายของการหักเหของแสง ไม่ได้แก้ไขด้วยการอธิบายให้ฟังอีกรอบ
2. ประเมิลผลการบอกกฎการหักเหของแสงพบว่านักเรียน.....คนบอกกฎการหักเหของแสงไม่ได้แก้ไขด้วยการอธิบายให้ฟังอีกรอบ
3. ประเมิลผลการบอกปรากฏการณ์ที่เกิดจากการหักเหของแสงพบว่านักเรียน.....คนบอกกฎการหักเหของแสงไม่ได้แก้ไขด้วยการอธิบายให้ฟังอีกรอบ
4. ประเมิลผลการทดลองการหักเหของแสงพบว่านักเรียน.....คนทดลองการหักเหของแสงไม่ได้แก้ไขด้วยการทดลองอีกรอบ
สื่อการสอน
1.หนังสือวิทยาศาสตร์ ป.4
2.อุปกรณ์การทดลอง
บันทึกผลหลังสอน
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง การสะท้อนของแสง
แผนการจัดการเรียนรู้
วิชา วิทยาศาสตร์ ช่วงชั้นที่ 2 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
โรงเรียนวัดเขาวัง(แสง ช่วงสุวนิช) หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 พลังงานแสง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง การสะท้อนของแสง จำนวน 1 คาบ
วันที่ทำการสอนวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552
ผู้สอน 1.นางสาวสิรินธร พรมชาติ
มาตรฐาน ว 5.1เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานกับการดำรงชีวิต การแลกเปลี่ยนรูปพลังงาน ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสารและพลังงาน ผลของการใช้พลังงานต่อชีวิตและสิ่งแวดล้อม มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์
สาระสำคัญ การสะท้อนของแสงคือการที่แสงเปลี่ยนทิศการเคลื่อนที่กลับมาสู่ตัวกลางเดิมเมื่อแสงเคลื่อนที่ไปถึงแนวเขตระหว่างตัวกลาง2ตัวกลางโดยจะศึกษาความหมายของการสะท้อนของแสง กฎการสะท้อนของแสง การทดลองการสะท้อนของแสง
สาระการเรียนรู้
การสะท้อนของแสง
1. ความหมายของการสะท้อนของแสง
2. กฎการสะท้อนของแสง
3. การทดลองการสะท้อนของแสง
จุดประสงค์การเรียนรู้
จุดประสงค์ปลายทาง
นักเรียนอธิบายการสะท้อนของแสงได้
จุดประสงค์นำทาง
1. นักเรียนอธิบายความหมายของการสะท้อนของแสงได้
2. นักเรียนบอกกฎการสะท้อนของแสงได้
3. นักเรียนทดลองการสะท้อนของแสงได้
กระบวนการเรียนรู้
1. กิจกรรมนำสู่บทเรียน
1.1 การจัดทำนักเรียนโดยแบ่งนักเรียนออกเป็น 5 กลุ่ม
1.2 ทบทวนความรู้เดิมและนำเข้าสู่บทเรียนด้วยการตั้งประเด็นคำถามดังนี้
-นักเรียนเคยเล่นสะท้อนแสงหรือไม่
-วัตถุชนิดใดที่สะท้อนแสงได้บ้าง
จากนั้นครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้
1.3 อธิบายความหมายและกฎการสะท้อนของการสะท้อนของแสงแล้วกำหนดภาระงานให้นักเรียนเขียนความหมายลงในสมุด
2. กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
2.1 ครูวาดรูปบนกระดาน แล้วถามนักเรียนว่า2มุมนี้เท่ากันหรือไม่และแต่ละเส้นนี้เรียกว่าอะไร
2.2 ครูอธิบายจากตัวอย่างที่วาดแล้วถามนักเรียนว่าเส้นที่แสงไฟส่องนี้เรียกว่ารังสีตกกระทบส่วนเส้นที่แสงออกมานั้นเรียกว่ารังสีสะท้อนและเส้นที่แบ่งครึ่งเราเรียกว่าเส้นปกติ
2.3 ครูเขียนบนกระดานให้นักเรียนจดลงสมุดว่า
ลำแสงตกกระทบ คือแนวลำแสงจากแหล่งกำเนิดที่กระทบวัตถุ
ลำแสงสะท้อน คือแนวลำแสงที่สะท้อนออกจากวัตถุ
เส้นปกติ คือเส้นที่ตั้งฉากกับผิววัตถุที่ตำแหน่งแนวลำแสงตกกระทบวัตถุ
มุมตกกระทบ คือมุมระหว่างแนวลำแสงตกกระทบกับเส้นปกติ
มุมสะท้อน คือมุมระหว่างแนวลำแสงสะท้อนกับเส้นปกติ
2.4 ครูวาดรูปให้นักเรียนดูแล้วถามนักเรียนว่านี่คือรูปอะไรแล้วแตกต่างกันตรงไหน
2.5 ครูอธิบายจากภาพ
2.6 ครูทดลองให้นักเรียนดูทีละกลุ่มแล้วให้นักเรียนบันทึกลงในตารางบันทึกผล
3. ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป
3.1 ครูสุ่มนักเรียนออกมานำเสนอหน้าชั้นเรียน
3.2 นักเรียนในชั้นร่วมกันอภิปรายและสรุปได้ว่า
-การทดลองเป็นไปตามกฎการสะท้อน
-วัตถุที่สะท้อนได้ดีคือวัตถุที่ทึบและมีผิวมันเรียบ
3.3 ครูอธิบายว่าถ้าวัตถุที่มีผิวมันเรียบจะสะท้อนเป็นระเบียบส่วนวัตถุที่ขรุขระจะสะท้อนไม่เป็นระเบียบ
4. ขั้นขยายความรู้
4.1 ครูอธิบายการสะท้อนของแสงทำให้มองเห็นวัตถุต่างๆได้จึงมีการนำหลักการสะท้อนของแสงมาใช้ประโยชน์เช่นการติดตั้งกระจกนูนตามทางแยกช่วยให้มองเห็นภาพสะท้อนได้กว้าง
4.2 มอบภาระงานให้นักเรียนทำตารางบันทึกผลการทดลองและวาดภาพ
5. ขั้นสรุป
ครูให้นักเรียนสรุปลงสมุดเกี่ยวกับความหมายของการสะท้อนและข้อแตกต่างระหว่างวัตถุที่มีผิวมันเรียบกับผิวขรุขระและผลการทดลอง
6.การวัดผล
1. วัดผลการอธิบายความหมายของการสะท้อนของแสงจากการบันทึกในสมุด โดยยึดเกณฑ์ได้ถูกต้อง
2. วัดผลการบอกกฎการสะท้อนของแสงจากใบกำหนดงานที่1กิจกรรมที่2 โดยยึดเกณฑ์
ได้ถูกต้อง
3. วัดผลการทดลองการสะท้อนของแสงจากใบกำหนดงานที่1กิจกรรมที่1โดยยึดเกณฑ์ได้ถูกต้อง
7.ประเมินผล
1. ประเมิลผลการอธิบายความหมายของการสะท้อนของแสง พบว่านักเรียน.....คนอธิบายความหมายของการสะท้อนของแสง ไม่ได้แก้ไขด้วยการอธิบายให้ฟังอีกรอบ
2. ประเมิลผลการบอกกฎการสะท้อนของแสงพบว่านักเรียน.....คนการบอกกฎการสะท้อนของแสงไม่ได้แก้ไขด้วยการอธิบายให้ฟังอีกรอบ
3. ประเมิลผลการทดลองการสะท้อนของแสงพบว่านักเรียน.....คนการทดลองการสะท้อนของแสงไม่ได้แก้ไขด้วยการทดลองให้ดู
สื่อการสอน
1. หนังสือวิทยาศาสตร์ ป.4
2. อุปกรณ์การทดลอง
3. ใบกำหนดงานที่1เรื่องการสะท้อนของแสง
บันทึกผลหลังสอน
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ใบกำหนดงานที่1เรื่องการสะท้อนของแสง
ตารางบันทึกผลการทดลอง
วัตถุที่ทำการทดลอง
ลักษณะแสงที่ปรากฏ
บนวัตถุ
บนกระดาษขาว
1.กระจกใส
2.ผ้าขนหนู
3.กระดาษแข็ง
4.กระดาษฟอยด์
ใบกำหนดงานที่ 2 เรื่องการสะท้อนของแสง
วาดภาพลำแสงเมื่อกระทบกระจกเงาและสะท้อนกลับ
สรุปผลการทดลอง
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
วิชา วิทยาศาสตร์ ช่วงชั้นที่ 2 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
โรงเรียนวัดเขาวัง(แสง ช่วงสุวนิช) หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 พลังงานแสง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง การสะท้อนของแสง จำนวน 1 คาบ
วันที่ทำการสอนวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552
ผู้สอน 1.นางสาวสิรินธร พรมชาติ
มาตรฐาน ว 5.1เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานกับการดำรงชีวิต การแลกเปลี่ยนรูปพลังงาน ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสารและพลังงาน ผลของการใช้พลังงานต่อชีวิตและสิ่งแวดล้อม มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์
สาระสำคัญ การสะท้อนของแสงคือการที่แสงเปลี่ยนทิศการเคลื่อนที่กลับมาสู่ตัวกลางเดิมเมื่อแสงเคลื่อนที่ไปถึงแนวเขตระหว่างตัวกลาง2ตัวกลางโดยจะศึกษาความหมายของการสะท้อนของแสง กฎการสะท้อนของแสง การทดลองการสะท้อนของแสง
สาระการเรียนรู้
การสะท้อนของแสง
1. ความหมายของการสะท้อนของแสง
2. กฎการสะท้อนของแสง
3. การทดลองการสะท้อนของแสง
จุดประสงค์การเรียนรู้
จุดประสงค์ปลายทาง
นักเรียนอธิบายการสะท้อนของแสงได้
จุดประสงค์นำทาง
1. นักเรียนอธิบายความหมายของการสะท้อนของแสงได้
2. นักเรียนบอกกฎการสะท้อนของแสงได้
3. นักเรียนทดลองการสะท้อนของแสงได้
กระบวนการเรียนรู้
1. กิจกรรมนำสู่บทเรียน
1.1 การจัดทำนักเรียนโดยแบ่งนักเรียนออกเป็น 5 กลุ่ม
1.2 ทบทวนความรู้เดิมและนำเข้าสู่บทเรียนด้วยการตั้งประเด็นคำถามดังนี้
-นักเรียนเคยเล่นสะท้อนแสงหรือไม่
-วัตถุชนิดใดที่สะท้อนแสงได้บ้าง
จากนั้นครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้
1.3 อธิบายความหมายและกฎการสะท้อนของการสะท้อนของแสงแล้วกำหนดภาระงานให้นักเรียนเขียนความหมายลงในสมุด
2. กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
2.1 ครูวาดรูปบนกระดาน แล้วถามนักเรียนว่า2มุมนี้เท่ากันหรือไม่และแต่ละเส้นนี้เรียกว่าอะไร
2.2 ครูอธิบายจากตัวอย่างที่วาดแล้วถามนักเรียนว่าเส้นที่แสงไฟส่องนี้เรียกว่ารังสีตกกระทบส่วนเส้นที่แสงออกมานั้นเรียกว่ารังสีสะท้อนและเส้นที่แบ่งครึ่งเราเรียกว่าเส้นปกติ
2.3 ครูเขียนบนกระดานให้นักเรียนจดลงสมุดว่า
ลำแสงตกกระทบ คือแนวลำแสงจากแหล่งกำเนิดที่กระทบวัตถุ
ลำแสงสะท้อน คือแนวลำแสงที่สะท้อนออกจากวัตถุ
เส้นปกติ คือเส้นที่ตั้งฉากกับผิววัตถุที่ตำแหน่งแนวลำแสงตกกระทบวัตถุ
มุมตกกระทบ คือมุมระหว่างแนวลำแสงตกกระทบกับเส้นปกติ
มุมสะท้อน คือมุมระหว่างแนวลำแสงสะท้อนกับเส้นปกติ
2.4 ครูวาดรูปให้นักเรียนดูแล้วถามนักเรียนว่านี่คือรูปอะไรแล้วแตกต่างกันตรงไหน
2.5 ครูอธิบายจากภาพ
2.6 ครูทดลองให้นักเรียนดูทีละกลุ่มแล้วให้นักเรียนบันทึกลงในตารางบันทึกผล
3. ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป
3.1 ครูสุ่มนักเรียนออกมานำเสนอหน้าชั้นเรียน
3.2 นักเรียนในชั้นร่วมกันอภิปรายและสรุปได้ว่า
-การทดลองเป็นไปตามกฎการสะท้อน
-วัตถุที่สะท้อนได้ดีคือวัตถุที่ทึบและมีผิวมันเรียบ
3.3 ครูอธิบายว่าถ้าวัตถุที่มีผิวมันเรียบจะสะท้อนเป็นระเบียบส่วนวัตถุที่ขรุขระจะสะท้อนไม่เป็นระเบียบ
4. ขั้นขยายความรู้
4.1 ครูอธิบายการสะท้อนของแสงทำให้มองเห็นวัตถุต่างๆได้จึงมีการนำหลักการสะท้อนของแสงมาใช้ประโยชน์เช่นการติดตั้งกระจกนูนตามทางแยกช่วยให้มองเห็นภาพสะท้อนได้กว้าง
4.2 มอบภาระงานให้นักเรียนทำตารางบันทึกผลการทดลองและวาดภาพ
5. ขั้นสรุป
ครูให้นักเรียนสรุปลงสมุดเกี่ยวกับความหมายของการสะท้อนและข้อแตกต่างระหว่างวัตถุที่มีผิวมันเรียบกับผิวขรุขระและผลการทดลอง
6.การวัดผล
1. วัดผลการอธิบายความหมายของการสะท้อนของแสงจากการบันทึกในสมุด โดยยึดเกณฑ์ได้ถูกต้อง
2. วัดผลการบอกกฎการสะท้อนของแสงจากใบกำหนดงานที่1กิจกรรมที่2 โดยยึดเกณฑ์
ได้ถูกต้อง
3. วัดผลการทดลองการสะท้อนของแสงจากใบกำหนดงานที่1กิจกรรมที่1โดยยึดเกณฑ์ได้ถูกต้อง
7.ประเมินผล
1. ประเมิลผลการอธิบายความหมายของการสะท้อนของแสง พบว่านักเรียน.....คนอธิบายความหมายของการสะท้อนของแสง ไม่ได้แก้ไขด้วยการอธิบายให้ฟังอีกรอบ
2. ประเมิลผลการบอกกฎการสะท้อนของแสงพบว่านักเรียน.....คนการบอกกฎการสะท้อนของแสงไม่ได้แก้ไขด้วยการอธิบายให้ฟังอีกรอบ
3. ประเมิลผลการทดลองการสะท้อนของแสงพบว่านักเรียน.....คนการทดลองการสะท้อนของแสงไม่ได้แก้ไขด้วยการทดลองให้ดู
สื่อการสอน
1. หนังสือวิทยาศาสตร์ ป.4
2. อุปกรณ์การทดลอง
3. ใบกำหนดงานที่1เรื่องการสะท้อนของแสง
บันทึกผลหลังสอน
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ใบกำหนดงานที่1เรื่องการสะท้อนของแสง
ตารางบันทึกผลการทดลอง
วัตถุที่ทำการทดลอง
ลักษณะแสงที่ปรากฏ
บนวัตถุ
บนกระดาษขาว
1.กระจกใส
2.ผ้าขนหนู
3.กระดาษแข็ง
4.กระดาษฟอยด์
ใบกำหนดงานที่ 2 เรื่องการสะท้อนของแสง
วาดภาพลำแสงเมื่อกระทบกระจกเงาและสะท้อนกลับ
สรุปผลการทดลอง
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่องตัวกลางของแสง
แผนการจัดการเรียนรู้
วิชา วิทยาศาสตร์ ช่วงชั้นที่ 2 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
โรงเรียนวัดเขาวัง(แสง ช่วงสุวนิช) หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 พลังงานแสง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่องตัวกลางของแสง จำนวน 1 คาบ
วันที่ทำการสอนวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552
มาตรฐาน ว 5.1เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานกับการดำรงชีวิต การแลกเปลี่ยนรูปพลังงาน ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสารและพลังงาน ผลของการใช้พลังงานต่อชีวิตและสิ่งแวดล้อม มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์
สาระสำคัญ ตัวกลางคือสิ่งที่อยู่ระหว่างดวงตาของเรากับแหล่งกำเนิดแสงซึ่งแสงจะเดินทางผ่านตัวกลางชนิดต่างๆเช่น อากาศ กระจก ผ้า กระดาษ แผ่นไม้ ตัวกลางบางชนิดมีสมบัติในการยอมให้แสงผ่านต่างกันโดยเรียนรู้จากตัวกลางโปร่งใส ตัวกลางโปร่งแสง วัตถุทึบแสง
สาระการเรียนรู้
ตัวกลางของแสง
1. ความหมายของตัวกลาง
2. ประเภทของตัวกลาง
3. ทดลองชนิดของตัวกลาง
จุดประสงค์การเรียนรู้
จุดประสงค์ปลายทาง
นักเรียนอธิบายตัวกลางของแสงได้ถูกต้อง
จุดประสงค์นำทาง
1. นักเรียนอธิบายความหมายของตัวกลางของแสงได้ถูกต้อง
2. นักเรียนบอกประเภทของตัวกลางได้ถูกต้อง
3. นักเรียนทดลองชนิดของตัวกลางได้ถูกต้อง
กระบวนการเรียนรู้
1. กิจกรรมนำสู่บทเรียน
1.1 การจัดทำนักเรียนโดยแบ่งนักเรียนออกเป็น 5 กลุ่มด้วยวิธีนับ1-5
1.2 ทบทวนความรู้เดิมและนำเข้าสู่บทเรียนด้วยการตั้งประเด็นคำถามดังนี้
-ถ้าเอาถุงพลาสติกแบบขุ่นมาให้นักเรียนมองผ่านนักเรียนคิดว่าจะมองเห็นสิ่งต่างๆ แตกต่างกันหรือไม่
-ครูสุ่มนักเรียนออกมามองสิ่งต่างๆผ่านถุงทั้ง2ชนิดแล้วบอกเพื่อนว่าแตกต่างกันหรือไม่
-ถุงพลาสติกทั้ง 2ใบนี้เราเรียกมันว่าอะไร
-นักเรียนคิดว่าตัวกลางแต่ละชนิดมีสมบัติในการยอมให้แสงผ่านไปได้แตกต่างกันหรือไม่
1.3 อธิบายความหมายของตัวกลางของแสงแล้วกำหนดภาระงานให้นักเรียนเขียนความหมายลงในสมุด
2.กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
2.1 ครูวาดรูปบนกระดาน 2 รูปแล้วถามนักเรียนว่าระหว่างรูป 2รูปนี้นักเรียนเห็นอะไร
2.2 ครูอธิบายจากตัวอย่างที่วาดแล้วถามนักเรียนว่าตัวกลางมีกี่ประเภทอะไรบ้างแล้วอธิบายเพิ่มเติม
2.3 ครูให้นักเรียนส่งตัวแทนออกมาทำการทดลองร่วมกับครูเรื่องชนิดของตัวกลางโดยให้สมาชิกที่เหลือสังเกตแล้วจดบันทึก
3.ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป
3.1 ครูสุ่มนักเรียนออกมานำเสนอหน้าชั้นเรียน
3.2 นักเรียนในชั้นร่วมกันอภิปรายและสรุปได้ว่า
ตัวกลางที่นำมากั้นแสงแล้วมองเห็นชัดเจนคือ..................
ตัวกลางที่นำมากั้นแสงแล้วมองเห็นบ้างคือ......................
ตัวกลางที่นำมากั้นแสงแล้วมองไม่เห็นคือ........................
3.3 ครูอธิบายว่าสมบัติของตัวกลางที่ยอมให้แสงผ่านได้ทั้งหมดคือ……………….
ตัวกลางที่ยอมให้แสงผ่านได้บ้างบางส่วนคือ......................
ตัวกลางที่ ไม่ยอมให้ผ่านคือ................................................
4.ขั้นขยายความรู้
4.1 ครูอธิบายวัตถุทึบแสงว่าเมื่อมันไม่ยอมให้แสงผ่านไปได้แสงทั้งหมดก็จึงตกอยู่ที่วัตถุมันจึงเกิดเงาขึ้นตามรูปร่างของวัตถุนั้นๆ
4.2 ครูอธิบายเงามืดกับเงามัว
4.3 ครูพาทำมือเป็นรูปสัตว์ต่างๆพร้อมเพลงประกอบ
5. ขั้นสรุป
ครูให้นักเรียนสรุปลงสมุดเกี่ยวกับความหมาย ประเภทและผลการทดลอง
6.การวัดผล
1. วัดผลการอธิบายความหมายของตัวกลางของแสงจากการอธิบายในสมุด โดยยึดเกณฑ์ได้ถูกต้อง
2. วัดผลการบอกประเภทของตัวกลาง จากการบอกในสมุดโดยยึดเกณฑ์ได้ถูกต้อง
3. วัดผลการทดลองชนิดของตัวกลางจากใบกำหนดงานที่1เรื่องตัวกลางของแสง
โดยยึดเกณฑ์ได้ถูกต้อง
7.ประเมินผล
1. ประเมิลผลการอธิบายความหมายของตัวกลางของแสง พบว่านักเรียน.....คนอธิบายความหมายของตัวกลางของแสง ไม่ได้แก้ไขด้วยการอธิบายให้ฟังอีกรอบ
2. ประเมิลผลการบอกประเภทของตัวกลาง พบว่านักเรียน.....คนบอกประเภทของตัวกลาง ไม่ได้แก้ไขด้วยการอธิบายให้ฟังอีกรอบ
3. ประเมิลผลการ ทดลองชนิดของตัวกลางพบว่านักเรียน.....คนทดลองชนิดของตัวกลาง ไม่ได้แก้ไขด้วยการอธิบายให้ฟังอีกรอบ
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
1.1 หนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ป.4
1.2 ประเด็นคำถาม
1.3 อุปกรณ์ในการทดลอง
บันทึกผลหลังสอน
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ใบกำหนดงานที่1เรื่องตัวกลางของแสง
ตารางบันทึกผลการทดลอง
ชนิดของตัวกลาง
แสงผ่านตัวกลาง
ลักษณะของแสงที่ทะลุผ่านตัวกลางมา
ผ่านได้ดี
ผ่านได้บ้าง
ผ่านไม่ได้
1.กระจกใส
2.ผ้า
3.พลาสติกใส
4.กระจกฝ้า
5.แผ่นไม้
6.แผ่นกระดาษ
7.แก้วใส
บันทึกผลการทดลอง
..................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................
วิชา วิทยาศาสตร์ ช่วงชั้นที่ 2 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
โรงเรียนวัดเขาวัง(แสง ช่วงสุวนิช) หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 พลังงานแสง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่องตัวกลางของแสง จำนวน 1 คาบ
วันที่ทำการสอนวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552
มาตรฐาน ว 5.1เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานกับการดำรงชีวิต การแลกเปลี่ยนรูปพลังงาน ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสารและพลังงาน ผลของการใช้พลังงานต่อชีวิตและสิ่งแวดล้อม มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์
สาระสำคัญ ตัวกลางคือสิ่งที่อยู่ระหว่างดวงตาของเรากับแหล่งกำเนิดแสงซึ่งแสงจะเดินทางผ่านตัวกลางชนิดต่างๆเช่น อากาศ กระจก ผ้า กระดาษ แผ่นไม้ ตัวกลางบางชนิดมีสมบัติในการยอมให้แสงผ่านต่างกันโดยเรียนรู้จากตัวกลางโปร่งใส ตัวกลางโปร่งแสง วัตถุทึบแสง
สาระการเรียนรู้
ตัวกลางของแสง
1. ความหมายของตัวกลาง
2. ประเภทของตัวกลาง
3. ทดลองชนิดของตัวกลาง
จุดประสงค์การเรียนรู้
จุดประสงค์ปลายทาง
นักเรียนอธิบายตัวกลางของแสงได้ถูกต้อง
จุดประสงค์นำทาง
1. นักเรียนอธิบายความหมายของตัวกลางของแสงได้ถูกต้อง
2. นักเรียนบอกประเภทของตัวกลางได้ถูกต้อง
3. นักเรียนทดลองชนิดของตัวกลางได้ถูกต้อง
กระบวนการเรียนรู้
1. กิจกรรมนำสู่บทเรียน
1.1 การจัดทำนักเรียนโดยแบ่งนักเรียนออกเป็น 5 กลุ่มด้วยวิธีนับ1-5
1.2 ทบทวนความรู้เดิมและนำเข้าสู่บทเรียนด้วยการตั้งประเด็นคำถามดังนี้
-ถ้าเอาถุงพลาสติกแบบขุ่นมาให้นักเรียนมองผ่านนักเรียนคิดว่าจะมองเห็นสิ่งต่างๆ แตกต่างกันหรือไม่
-ครูสุ่มนักเรียนออกมามองสิ่งต่างๆผ่านถุงทั้ง2ชนิดแล้วบอกเพื่อนว่าแตกต่างกันหรือไม่
-ถุงพลาสติกทั้ง 2ใบนี้เราเรียกมันว่าอะไร
-นักเรียนคิดว่าตัวกลางแต่ละชนิดมีสมบัติในการยอมให้แสงผ่านไปได้แตกต่างกันหรือไม่
1.3 อธิบายความหมายของตัวกลางของแสงแล้วกำหนดภาระงานให้นักเรียนเขียนความหมายลงในสมุด
2.กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
2.1 ครูวาดรูปบนกระดาน 2 รูปแล้วถามนักเรียนว่าระหว่างรูป 2รูปนี้นักเรียนเห็นอะไร
2.2 ครูอธิบายจากตัวอย่างที่วาดแล้วถามนักเรียนว่าตัวกลางมีกี่ประเภทอะไรบ้างแล้วอธิบายเพิ่มเติม
2.3 ครูให้นักเรียนส่งตัวแทนออกมาทำการทดลองร่วมกับครูเรื่องชนิดของตัวกลางโดยให้สมาชิกที่เหลือสังเกตแล้วจดบันทึก
3.ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป
3.1 ครูสุ่มนักเรียนออกมานำเสนอหน้าชั้นเรียน
3.2 นักเรียนในชั้นร่วมกันอภิปรายและสรุปได้ว่า
ตัวกลางที่นำมากั้นแสงแล้วมองเห็นชัดเจนคือ..................
ตัวกลางที่นำมากั้นแสงแล้วมองเห็นบ้างคือ......................
ตัวกลางที่นำมากั้นแสงแล้วมองไม่เห็นคือ........................
3.3 ครูอธิบายว่าสมบัติของตัวกลางที่ยอมให้แสงผ่านได้ทั้งหมดคือ……………….
ตัวกลางที่ยอมให้แสงผ่านได้บ้างบางส่วนคือ......................
ตัวกลางที่ ไม่ยอมให้ผ่านคือ................................................
4.ขั้นขยายความรู้
4.1 ครูอธิบายวัตถุทึบแสงว่าเมื่อมันไม่ยอมให้แสงผ่านไปได้แสงทั้งหมดก็จึงตกอยู่ที่วัตถุมันจึงเกิดเงาขึ้นตามรูปร่างของวัตถุนั้นๆ
4.2 ครูอธิบายเงามืดกับเงามัว
4.3 ครูพาทำมือเป็นรูปสัตว์ต่างๆพร้อมเพลงประกอบ
5. ขั้นสรุป
ครูให้นักเรียนสรุปลงสมุดเกี่ยวกับความหมาย ประเภทและผลการทดลอง
6.การวัดผล
1. วัดผลการอธิบายความหมายของตัวกลางของแสงจากการอธิบายในสมุด โดยยึดเกณฑ์ได้ถูกต้อง
2. วัดผลการบอกประเภทของตัวกลาง จากการบอกในสมุดโดยยึดเกณฑ์ได้ถูกต้อง
3. วัดผลการทดลองชนิดของตัวกลางจากใบกำหนดงานที่1เรื่องตัวกลางของแสง
โดยยึดเกณฑ์ได้ถูกต้อง
7.ประเมินผล
1. ประเมิลผลการอธิบายความหมายของตัวกลางของแสง พบว่านักเรียน.....คนอธิบายความหมายของตัวกลางของแสง ไม่ได้แก้ไขด้วยการอธิบายให้ฟังอีกรอบ
2. ประเมิลผลการบอกประเภทของตัวกลาง พบว่านักเรียน.....คนบอกประเภทของตัวกลาง ไม่ได้แก้ไขด้วยการอธิบายให้ฟังอีกรอบ
3. ประเมิลผลการ ทดลองชนิดของตัวกลางพบว่านักเรียน.....คนทดลองชนิดของตัวกลาง ไม่ได้แก้ไขด้วยการอธิบายให้ฟังอีกรอบ
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
1.1 หนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ป.4
1.2 ประเด็นคำถาม
1.3 อุปกรณ์ในการทดลอง
บันทึกผลหลังสอน
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ใบกำหนดงานที่1เรื่องตัวกลางของแสง
ตารางบันทึกผลการทดลอง
ชนิดของตัวกลาง
แสงผ่านตัวกลาง
ลักษณะของแสงที่ทะลุผ่านตัวกลางมา
ผ่านได้ดี
ผ่านได้บ้าง
ผ่านไม่ได้
1.กระจกใส
2.ผ้า
3.พลาสติกใส
4.กระจกฝ้า
5.แผ่นไม้
6.แผ่นกระดาษ
7.แก้วใส
บันทึกผลการทดลอง
..................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................
แผนการสอน
แผนการจัดการเรียนรู้
วิชา วิทยาศาสตร์ ช่วงชั้นที่ 2 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
โรงเรียนวัดเขาวัง(แสง ช่วงสุวนิช) หน่วยการเรียนรู้ที่4 พลังงานแสง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง การเคลื่อนที่ของแสงจากแหล่งกำเนิด จำนวน 1 คาบ
วันที่ทำการสอนวันที่ 4 พฤศจิกายน 2552
ผู้สอน 1.นางสาวสิรินธร พรมชาติ
มาตรฐาน ว 5.1เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานกับการดำรงชีวิต การแลกเปลี่ยนรูปพลังงาน ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสารและพลังงาน ผลของการใช้พลังงานต่อชีวิตและสิ่งแวดล้อม มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์
สาระสำคัญ แสงเป็นพลังงานรูปหนึ่งที่เราสามารถรับรู้ได้ด้วยตา แสงอาจมีแหล่งกำเนิดจากธรรมชาติหรือจากอุปกรณ์ที่มนุษย์สร้างขึ้นเอง
สาระการเรียนรู้
การเคลื่อนที่ของแสงจากแหล่งกำเนิด
1. แหล่งกำเนิดแสง
2.การเดินทางของแสง
จุดประสงค์การเรียนรู้
จุดประสงค์ปลายทาง
นักเรียนอธิบายการการเคลื่อนที่ของแสงจากแหล่งกำเนิดได้ถูกต้อง
จุดประสงค์นำทาง
1.นักเรียนอธิบายแหล่งกำเนิดแสงได้ถูกต้อง
2.นักเรียนทดลองการเดินทางของแสงได้ถูกต้อง
กระบวนการเรียนรู้
1. ขั้นอธิบายการแหล่งกำเนิดแสง
1.1การจัดทำนักเรียนโดยแบ่งนักเรียนออกเป็น 5 กลุ่มด้วยวิธีนับ1-5
1.2ทบทวนความรู้เดิมและนำเข้าสู่บทเรียนด้วยการตั้งประเด็นคำถามดังนี้
-นักเรียนคิดว่าเรามองเห็นสิ่งต่างๆได้เพราะอะไร
-สิ่งที่ให้แสงสว่างเราเรียกว่าอะไร
-แหล่งกำเนิดแสงมาจากไหนบ้าง
1.3อธิบายแหล่งกำเนิดแสงและวาดภาพแหล่งกำเนิดแสงแล้วกำหนดภาระงานให้นักเรียนช่วยกันระดมความคิดลงในใบกำหนดงานที่1กิจกรรมที่1เรื่องแหล่งกำเนิดแสงและกระดาษเอ4ที่ครูให้
ใบกำหนดงานที่1 เรื่องการเคลื่อนที่ของแสงจากแหล่งกำเนิด
กิจกรรมที่1แหล่งกำเนิดแสง
ให้นักเรียนเขียนคำตอบที่ถูกต้องลงในตารางที่กำหนดให้
แหล่งกำเนิดแสงตามธรรมชาติ
แหล่งกำเนิดแสงที่มนุษย์สร้างขึ้น
1.4ปฏิบัติภาระงานตามใบกำหนดงานที่1เรื่องแหล่งกำเนิดแสง
1.5นำเสนอผลงานหน้าชั้นเรียนโดยส่งตัวแทนกลุ่มออกไปนำเสนอ
1.6สะท้อนความคิดโดยการตั้งประเด็นคำถามขึ้นมาถามนักเรียนว่าสิ่งที่นักเรียนแต่ละกลุ่มออกมาอธิบายแหล่งกำเนิดแสงนั้น มีอะไรบ้าง
1.7ประเมินผล สรุปผล และเพิ่มเติมเนื้อหา
2ขั้นทดลองการเปลี่ยนแปลงของวัตถุ
2.1การจัดทำนักเรียนโดยแบ่งนักเรียนออกเป็น 5 กลุ่มด้วยวิธีนับ1-5
2.2นำเสนอสื่อโดยการนำอุปกรณ์การทดลองมาให้นักเรียนดู
2.3ทดลองการเดินทางของแสงแล้วกำหนดภาระงานให้นักเรียนทดลองแล้วสังเกตและบันทึกผลลงในใบกำหนดงานที่1กิจกรรมที่2 เรื่องทดลองการเดินทางของแสง
ใบกำหนดงานที่1เรื่องการเคลื่อนที่ของแสงจากแหล่งกำเนิด
กิจกรรมที่2ทดลองการการเดินทางของแสง
ตารางบันทึกผลการทดลอง
ลักษณะการตั้งแผ่นกระดาษ
ผลการสังเกตเปลวเทียนไขผ่านรูบนแผ่นกระดาษ
เห็น
ไม่เห็น
1.รูบนแผ่นกระดาษทั้ง 3 แผ่นตรงกัน
2.เมื่อเลื่อนแผ่นกระดาษแผ่นที่1
3.นำกระดาษแผ่นที่1ออก
4.เมื่อเลื่อนกระดาษแผ่นที่2
5.นำกระดาษแผ่นที่2ออก
6.เมื่อเลื่อนกระดาษแผ่นที่3
7.นำกระดาษแผ่นที่3ออก
สรุปผลการทดลอง......................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................
2.4ปฏิบัติภาระงานที่กำหนดร่วมกันตามใบกำหนดงานที่1กิจกรรมที่2เรื่องทดลองการเดินทางของแสง
2.5นำเสนอผลงานหน้าชั้นเรียนโดยส่งตัวแทนกลุ่มออกไปนำเสนอ
2.6สะท้อนความคิดโดยการตั้งประเด็นคำถามขึ้นมาถามนักเรียนว่านักเรียนต้องวางกระดาษอย่างไรจึงมองเห็นเปลวเทียนและทำอย่างไรจึงมองไม่เห็นเปลวเทียน
2.7 ประเมินผล สรุปผล และเพิ่มเติมเนื้อหา
การวัดผล
1.วัดผลการอธิบายแหล่งกำเนิดแสงด้วยการตรวจผลการอธิบายแหล่งกำเนิดแสงและวาดภาพแหล่งกำเนิดแสงตามใบกำหนดงานที่1กิจกรรมที่1โดยยึดเกณฑ์ได้ถูกต้อง
2.วัดผลการทดลองการเดินทางของแสงจากใบกำหนดงานที่1กิจกรรมที่2 โดยยึดเกณฑ์ได้ถูกต้อง
ประเมินผล
1.ประเมิลผลการอธิบายแหล่งกำเนิดแสงพบว่านักเรียน.....คนอธิบายแหล่งกำเนิดแสงไม่ได้แก้ไขด้วยการอธิบายให้ฟังอีกรอบ
2.ประเมิลผลการทดลองการเดินทางของแสงพบว่านักเรียน.....คนทดลองการเดินทางของแสงไม่ได้แก้ไขด้วยการอธิบายให้ฟังอีกรอบ
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
1.1หนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ป.4
1.2ประเด็นคำถาม
1.3ใบกำหนดงานที่1กิจกรรมที่1
2.1หนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ป.4
2.2 ประเด็นคำถาม/อุปกรณ์ทดลอง
2.3.ใบกำหนดงานที่1กิจกรรมที่2
บันทึกผลหลังสอน
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ใบกำหนดงานที่1เรื่องการเคลื่อนที่ของแสงจากแหล่งกำเนิด
กิจกรรมที่1แหล่งกำเนิดแสง
ให้นักเรียนเขียนคำตอบที่ถูกต้องลงในตารางที่กำหนดให้
แหล่งกำเนิดแสงตามธรรมชาติ
แหล่งกำเนิดแสงที่มนุษย์สร้างขึ้น
ใบกำหนดงานที่1เรื่องการเคลื่อนที่ของแสงจากแหล่งกำเนิด
ให้นักเรียนเขียนคำตอบที่ถูกต้องลงในตารางที่กำหนดให้
แหล่งกำเนิดแสงตามธรรมชาติ
แหล่งกำเนิดแสงที่มนุษย์สร้างขึ้น
ใบกำหนดงานที่1เรื่องการเคลื่อนที่ของแสงจากแหล่งกำเนิด
กิจกรรมที่2 ทดลองการการเดินทางของแสง
ตารางบันทึกผลการทดลอง
ลักษณะการตั้งแผ่นกระดาษ
ผลการสังเกตเปลวเทียนไขผ่านรูบนแผ่นกระดาษ
เห็น
ไม่เห็น
1.รูบนแผ่นกระดาษทั้ง 3 แผ่นตรงกัน
2.เมื่อเลื่อนแผ่นกระดาษแผ่นที่1
3.นำกระดาษแผ่นที่1ออก
4.เมื่อเลื่อนกระดาษแผ่นที่2
5.นำกระดาษแผ่นที่2ออก
6.เมื่อเลื่อนกระดาษแผ่นที่3
7.นำกระดาษแผ่นที่3ออก
สรุปผลการทดลอง.................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................
วันพฤหัสบดีที่ 15 ตุลาคม พ.ศ. 2552
วันพุธที่ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2552
ข้อปฏิบัติของนักศึกษาระหว่างฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู
1. แต่งเครื่องแบบนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง
2. ลงเวลามาทำงาน เวลากลับและลงลายมือชื่อในใบลงเวลาฝึกงานทุกวัน
3. ในกรณีที่จำเป็นไปปฏิบัติงานไม่ได้ ให้ส่งใบลาต่อผู้บังคับบัญชาและเก็บใบลาที่ผู้บังคับบัญชาอนุญาตแล้วนำมาแสดงต่ออาจารย์ นิเทศก์อีกครั้งหนึ่ง
4. ต้องเชื่อฟังผู้บังคับบัญชาและปฏิบัติตามกฎระเบียบของหน่วยฝึกสอนนั้นโดยเคร่งครัด
5. ห้ามมิให้เปิดเผยความลับของสถานที่ที่นักศึกษาไปฝึกสอน
6. ให้บันทึกข้อมูลรายละเอียดเกี่ยวกับการปฏิบัติงานในแต่ละวันลงในเอกสารฝึกสอน และมอบให้ผู้ควบคุมการฝึกงานตรวจสอบ ให้ข้อเสนอแนะและลงรายชื่อกำกับทุกสัปดาห์
7. เสนอเอกสารการฝึกสอนให้อาจารย์นิเทศตรวจทุกครั้ง ที่อาจารย์นิเทศก์ไปทำการนิเทศก์
1. แต่งเครื่องแบบนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง
2. ลงเวลามาทำงาน เวลากลับและลงลายมือชื่อในใบลงเวลาฝึกงานทุกวัน
3. ในกรณีที่จำเป็นไปปฏิบัติงานไม่ได้ ให้ส่งใบลาต่อผู้บังคับบัญชาและเก็บใบลาที่ผู้บังคับบัญชาอนุญาตแล้วนำมาแสดงต่ออาจารย์ นิเทศก์อีกครั้งหนึ่ง
4. ต้องเชื่อฟังผู้บังคับบัญชาและปฏิบัติตามกฎระเบียบของหน่วยฝึกสอนนั้นโดยเคร่งครัด
5. ห้ามมิให้เปิดเผยความลับของสถานที่ที่นักศึกษาไปฝึกสอน
6. ให้บันทึกข้อมูลรายละเอียดเกี่ยวกับการปฏิบัติงานในแต่ละวันลงในเอกสารฝึกสอน และมอบให้ผู้ควบคุมการฝึกงานตรวจสอบ ให้ข้อเสนอแนะและลงรายชื่อกำกับทุกสัปดาห์
7. เสนอเอกสารการฝึกสอนให้อาจารย์นิเทศตรวจทุกครั้ง ที่อาจารย์นิเทศก์ไปทำการนิเทศก์
ระเบียบการแต่งกายของนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ
ระเบียบการแต่งกายของนักศึกษาหญิง
1. กรณีทรงผมสั้นหวีให้สุภาพ ถ้าผมทรงยาวต้องรวบรัดเครื่องตกแต่งสีเข้มกลมกลืนกับผม ห้ามย้อมสีผมที่ต่างไปจากธรรมชาติ ตกแต่งใบหน้าดูสุภาพ ถ้าใส่ตุ้มหูจะต้องสภาพแนบหู
2.เสื้อเชิ้ตสีขาวเนื้อเรียบ ปราศจากรวดลาย ลูกไม้เกร็ดรัดตัว ขนาดตัวเสื้อและความยาวแขนเสื้อเหมาะสมกับรูปร่าง กรณีชุดพิธีต้องกลัดกระดุมคอสอดชายเสื้อไว้ในขอบกระโปรงพองามเปิดหัวเข็มขัดตรามหาวิทยาลัย
3. กระโปรงผ้าเนื้อเรียบหนาสีดำหรือกรมท่าเข็ม ถ้าเป็นกระโปรงทรงสั้นความยาวคลุมดุมเข่าลงมา 3 นิ้ว ถ้าเป็นกระโปรงทรงยาวจะต้องเหนือส้นเท้า 10 นิ้ว เป็นอย่างน้อยไม่ตกแต่งกระโปรงด้วย กระเป๋าเกล็ด ผ่า แหวก ใดๆทั้งสิ้น
4. รองเท้าคัดชูหุ้มหน้าและส้นเท้า
5. เสื้อสีประจำโปรแกรมวิชาห้ามใส่มาปฏิบัติงานในเวลา เฉพาะโปรแกรมวิชาศฺลปศึกษาและพลศึกษาจะใช้เฉพาะเข้าสอนภาคปฏิบัติเท่านั้น
ระเบียบการแต่งกายของนักศึกษาหญิง
1. กรณีทรงผมสั้นหวีให้สุภาพ ถ้าผมทรงยาวต้องรวบรัดเครื่องตกแต่งสีเข้มกลมกลืนกับผม ห้ามย้อมสีผมที่ต่างไปจากธรรมชาติ ตกแต่งใบหน้าดูสุภาพ ถ้าใส่ตุ้มหูจะต้องสภาพแนบหู
2.เสื้อเชิ้ตสีขาวเนื้อเรียบ ปราศจากรวดลาย ลูกไม้เกร็ดรัดตัว ขนาดตัวเสื้อและความยาวแขนเสื้อเหมาะสมกับรูปร่าง กรณีชุดพิธีต้องกลัดกระดุมคอสอดชายเสื้อไว้ในขอบกระโปรงพองามเปิดหัวเข็มขัดตรามหาวิทยาลัย
3. กระโปรงผ้าเนื้อเรียบหนาสีดำหรือกรมท่าเข็ม ถ้าเป็นกระโปรงทรงสั้นความยาวคลุมดุมเข่าลงมา 3 นิ้ว ถ้าเป็นกระโปรงทรงยาวจะต้องเหนือส้นเท้า 10 นิ้ว เป็นอย่างน้อยไม่ตกแต่งกระโปรงด้วย กระเป๋าเกล็ด ผ่า แหวก ใดๆทั้งสิ้น
4. รองเท้าคัดชูหุ้มหน้าและส้นเท้า
5. เสื้อสีประจำโปรแกรมวิชาห้ามใส่มาปฏิบัติงานในเวลา เฉพาะโปรแกรมวิชาศฺลปศึกษาและพลศึกษาจะใช้เฉพาะเข้าสอนภาคปฏิบัติเท่านั้น
โครงการครูสหกิจ
นักศึกษาคงทราบแล้วว่ารุ่นพี่ ปี 5 ของคณะครุศาสตร์ กำลังฝึกปฏิบัติการสอน ในสถานศึกษาเป็นระยะเวลา 1 ปี หรือ 2 ภาคเรียน ซึ่งผ่านมาแล้วเกือบ 1 ภาคเรียน ในการฝึกปฏิบัติการสอนครั้งนี้ เป็นการฝึกในโครงการ ครูสหกิจศึกษา ครูสหกิจคืออะไร ครูสหกิจเป็นโครงการที่สำนักงานการอุดมศึกษา (ส.ก.อ.) ทำโครงการขึ้นมาเพื่อแก้ปัญหาครูขาดแคลน โดยความร่วมมือกันระหว่าง สถานศึกษา และโรงเรียนที่ขาดแคลน หลักการ1. การปฏิบัติการสอนของนักศึกษาครูในโรงเรียนที่ขาดแคลนครูให้เป็นไปโดยความสมัครใจของนักศึกษา
2. นักศึกษาครุที่จะเข้าร่วมโครงการต้องเป็นนักศึกษาครูหลักสูตร 5 ปี
3. ระยะเวลาที่ใช้ในการปฏิบัติการสอนของนักศึกษาได้แก่ภาคเรียนที่ 2 ของชั้นปีที่ 4 และภาคเรียนที่ 1 ชั้นปีที่ 5
4. การนิเทศการสอนของนักศึกษาเป็นการดำเนินงานร่วมกับ 3 ฝ่าย ได้แก่ สถานศึกษา ศึกษานิเทศก์ในพื้นที่และครูผู้เกี่ยวข้องในโรงเรียน
5. ค่าตอบแทนการปฏิบัติการสอนของนักศึกษาในอัตรา 1,200 บาท/สัปดาห์ หรือ 4,800 บาท/เดือนโครงการนี้มีระยะดำเนินการ 2550-2553 แล้วแต่ว่ารัฐบาลจะอนุมัติให้ดำเนินการต่อหรือไม่ ก็คงต้องติดตามต่อไป
นักศึกษาคงทราบแล้วว่ารุ่นพี่ ปี 5 ของคณะครุศาสตร์ กำลังฝึกปฏิบัติการสอน ในสถานศึกษาเป็นระยะเวลา 1 ปี หรือ 2 ภาคเรียน ซึ่งผ่านมาแล้วเกือบ 1 ภาคเรียน ในการฝึกปฏิบัติการสอนครั้งนี้ เป็นการฝึกในโครงการ ครูสหกิจศึกษา ครูสหกิจคืออะไร ครูสหกิจเป็นโครงการที่สำนักงานการอุดมศึกษา (ส.ก.อ.) ทำโครงการขึ้นมาเพื่อแก้ปัญหาครูขาดแคลน โดยความร่วมมือกันระหว่าง สถานศึกษา และโรงเรียนที่ขาดแคลน หลักการ1. การปฏิบัติการสอนของนักศึกษาครูในโรงเรียนที่ขาดแคลนครูให้เป็นไปโดยความสมัครใจของนักศึกษา
2. นักศึกษาครุที่จะเข้าร่วมโครงการต้องเป็นนักศึกษาครูหลักสูตร 5 ปี
3. ระยะเวลาที่ใช้ในการปฏิบัติการสอนของนักศึกษาได้แก่ภาคเรียนที่ 2 ของชั้นปีที่ 4 และภาคเรียนที่ 1 ชั้นปีที่ 5
4. การนิเทศการสอนของนักศึกษาเป็นการดำเนินงานร่วมกับ 3 ฝ่าย ได้แก่ สถานศึกษา ศึกษานิเทศก์ในพื้นที่และครูผู้เกี่ยวข้องในโรงเรียน
5. ค่าตอบแทนการปฏิบัติการสอนของนักศึกษาในอัตรา 1,200 บาท/สัปดาห์ หรือ 4,800 บาท/เดือนโครงการนี้มีระยะดำเนินการ 2550-2553 แล้วแต่ว่ารัฐบาลจะอนุมัติให้ดำเนินการต่อหรือไม่ ก็คงต้องติดตามต่อไป
สิ่งที่อยากได้จากนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู
จากที่มีการจัดประชุมร่วมกันระหว่างผู้บริหารโรงเรียน ครูพี่เลี้ยง โรงเรียน ฝึกปฏิบัติการสอนของปี 5 วันที่ 28 สิงหาคม 2552ได้มีการรวบรวมเสนอผลของการอภิปรายร่วมกันดังนี้สิ่งที่ผู้บริหารและอาจารย์พี่เลี้ยงอยากเห็นในตัวนักศึกษาฝึกสอน คือ
1 สุขภาพร่างกาย แข็งแรง สดชื่น กระฉับกระเฉง
2. มีการเตรียมการสอนอย่างดี มีสื่อที่สร้างขึ้นอย่างมีประสิทธิภาพ
3. แต่งกายเรียบร้อย ตั้งแต่ทรงผมจรดรองเท้า
4. นักศึกษาควรรู้กฎระเบียบหรือวัฒนธรรมองค์กรในโรงเรียนที่ไปฝึกสอนและมีการปรับตัวที่ดี
5. อยากให้นักศึกษามีลักษณะเสนอตัวต่อกิจกรรมต่าง ๆ ของโรงเรียน หรือ ครู อาจารย์ ในโรงเรียน
6. อยากให้นักศึกษาไปโรงเรียนแต่เช้า และทำงานเต็มเวลา
7. ควรมีความรู้อื่น ๆ นอกจากวิชาเอก หมายถึงควรสอนได้หลากหลาย
8. อยากให้มีความคิดสร้างสรรค์ และแสวงหา สิ่งใหม่ ๆ ไปแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับครูในโรงเรียนบ้าง
9. อยากให้นักศึกษาฝึกสอนมีลักษณะ Love of Wisdom คือ ใฝ่รู้ มีความ Active พร้อมที่จะเข้าไปเรียนรู้งานต่าง ๆ
จากที่มีการจัดประชุมร่วมกันระหว่างผู้บริหารโรงเรียน ครูพี่เลี้ยง โรงเรียน ฝึกปฏิบัติการสอนของปี 5 วันที่ 28 สิงหาคม 2552ได้มีการรวบรวมเสนอผลของการอภิปรายร่วมกันดังนี้สิ่งที่ผู้บริหารและอาจารย์พี่เลี้ยงอยากเห็นในตัวนักศึกษาฝึกสอน คือ
1 สุขภาพร่างกาย แข็งแรง สดชื่น กระฉับกระเฉง
2. มีการเตรียมการสอนอย่างดี มีสื่อที่สร้างขึ้นอย่างมีประสิทธิภาพ
3. แต่งกายเรียบร้อย ตั้งแต่ทรงผมจรดรองเท้า
4. นักศึกษาควรรู้กฎระเบียบหรือวัฒนธรรมองค์กรในโรงเรียนที่ไปฝึกสอนและมีการปรับตัวที่ดี
5. อยากให้นักศึกษามีลักษณะเสนอตัวต่อกิจกรรมต่าง ๆ ของโรงเรียน หรือ ครู อาจารย์ ในโรงเรียน
6. อยากให้นักศึกษาไปโรงเรียนแต่เช้า และทำงานเต็มเวลา
7. ควรมีความรู้อื่น ๆ นอกจากวิชาเอก หมายถึงควรสอนได้หลากหลาย
8. อยากให้มีความคิดสร้างสรรค์ และแสวงหา สิ่งใหม่ ๆ ไปแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับครูในโรงเรียนบ้าง
9. อยากให้นักศึกษาฝึกสอนมีลักษณะ Love of Wisdom คือ ใฝ่รู้ มีความ Active พร้อมที่จะเข้าไปเรียนรู้งานต่าง ๆ
ระเบียบการฝึกประสบการร์วิชาชีพ
ระเบียบการฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูในสถานศึกษา 2
1.นักศึกษาฝึกประสบการณ์ ขั้นการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 2 จะต้องมีเวลาปฏิบัติงานครบ 2 ภาคเรียน ยกเว้นกรณีจำเป็นต้องได้รับอนุญาตจากผู้บริหารโรงเรียน
2.นักศึกษาฝึกประสบการณ์ ขั้นการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 2 จะต้องแต่งการตั้งแต่เส้นผมจรดรองเท้า และใช้เครื่องแบบนักศึกษาตามระเบียบของมหาวิทยาลัยที่แนบมา
3.นักศึกษาฝึกประสบการณ์ ขั้นการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 2 ต้องห้ามการพนัน อบายมุข สิ่งเสพย์ติดทุกอย่าง ชู้สาว รวมไปถึงการกระทำที่ผิดคุณธรรมทั้งในและนอกเวลาปฏิบัติงานอย่างเด็ดขาด
4.นักศึกษาฝึกประสบการณ์ ขั้นการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 2 จะต้องปฏิบัติตามคำตักเตือนและคำแนะนำของครูใหญ่ อาจารย์ใหญ่ ผู้อำนวยการ อาจารย์พี่เลี้ยง และอาจารย์นิเทศอย่างเคร่งครัด
5.นักศึกษาฝึกประสบการณ์ ขั้นการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 2 จะต้องไปโรงเรียนฝึกประสบการณ์ก่อนเวลาโรงเรียนเข้าอย่างน้อย 30 นาที และกลับที่พักหลังจากโรงเรียนเลิกแล้ว 30 นาที เป็นอย่างน้อย
6.นักศึกษาฝึกประสบการณ์ ขั้นการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 2 จะต้องลงเวลาการทำงานและกลับตามความเป็นจริงในบัญชีลงเวลาการทำงานที่โรงเรียนจัดไว้ให้
7.การขออนุญาตลาป่วย นักศึกษาจะต้องยื่นใบลาตามระเบียบของทางราชการต่อครูใหญ่ อาจารย์ใหญ่ หรือผู้อำนวยการ ให้ส่งใบลาในวันที่ป่วยหรือวันแรกที่กลับมาทำการสอนหลังจากหายป่วยแล้ว
8.ในระหว่างเวลาราชการ ถ้านักศึกษามีความจำเป็นจะต้องออกนอกบริเวณโรงเรียนให้นักศึกษาอนุญาตจากอาจารย์พี่เลี้ยง หรือผู้บริหารโรงเรียน และปฏิบัติตามระเบียบการออกนอกบริเวณโรงเรียนตามระบุในสัญญาที่ทำไว้กับฝ่ายฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู
9.นักศึกษาฝึกประสบการณ์ ขั้นการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 2 จะต้องปฏิบัติตามระเบียบต่าง ๆ ของโรงเรียน เช่นเดียวกับครูประจำการขั้นทดลองปฏิบัติงานจึงไม่มีสิทธิลากิจ ยกเว้นกรณีได้รับอนุญาตจากผู้บริหารโรงเรียน
10.นักศึกษาฝึกประสบการณ์ ขั้นการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 2 จะต้องรายงาน ครูใหญ่ อาจารย์ใหญ่ หรือผู้อำนวยการ และอาจารย์นิเทศทราบทันที ถ้ามีเหตุการณ์ที่ก่อให้เกิดความเสียหายแก่โรงเรียน มหาวิทยาลัย นักเรียน หรือ ตัวนักศึกษาเอง
11.นักศึกษาควรปรึกษาอาจารย์พี่เลี้ยงเกี่ยวกับการทำแผนการสอน และต้องส่งแผนการสอนให้อาจารย์พี่เลี้ยงตรวจล่วงหน้าก่อนสอน 1 สัปดาห์
12.นักศึกษาที่เป็นประธานหน่วยฝึกประสบการณ์ ขั้นการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 2 จะต้องรายงานการมาสาย ขาด การลาป่วย ของนักศึกษาฝึกประสบการณ์ ในโรงเรียนให้อาจารย์นิเทศทราบทุกครั้งที่มาทำการนิเทศ และสรุปเป็นลายลักษณ์อักษรส่งฝ่ายฝึกประสบการณ์ในวันสัมมนาทุกครั้ง และวันปัจฉิมนิเทศ
13. นักศึกษาจะต้องมีการประชุมหารือ เพื่อวางโครงการปฏิบัติงานและแก้ไขปัญหาต่างตลอดจนการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นซึ่งกันและกันเป็นประจำทุกสัปดาห์ และเลขานุการหน่วยฝึกต้องจดบันทึกไว้ในสมุดรายงานการประชุมทุกครั้ง และส่งฝ่ายฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูในวันสัมมนาและปัจฉิมนิเทศ
14. นักศึกษาฝึกประสบการณ์ ขั้นการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 2 ที่พักในบ้านพักของโรงเรียน จะต้องไม่นำบุคคลภายนอกมาค้างคืนในบ้านพัก การไปค้างคืนที่อื่นจะต้องแจ้งให้อาจารย์ที่รับผิดชอบเรื่องที่พักทรายอย่างเป็นลายลักษณ์อักษรทุกครั้ง
15.ถ้านักศึกษาประพฤติตนไม่เหมาะสมกับการเป็นนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู แม้นักศึกษาได้รับการว่ากล่าวตักเตือนแล้วก็ยังไม่แก้ไขปรับปรุงตนเองให้ดีขึ้น มหาวิทยาลัยอาจพิจารณาให้นักศึกษาพ้นสภาพการฝึกประสบการณ์ ขั้นการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 2 ในภาคเรียนนั้น
1.นักศึกษาฝึกประสบการณ์ ขั้นการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 2 จะต้องมีเวลาปฏิบัติงานครบ 2 ภาคเรียน ยกเว้นกรณีจำเป็นต้องได้รับอนุญาตจากผู้บริหารโรงเรียน
2.นักศึกษาฝึกประสบการณ์ ขั้นการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 2 จะต้องแต่งการตั้งแต่เส้นผมจรดรองเท้า และใช้เครื่องแบบนักศึกษาตามระเบียบของมหาวิทยาลัยที่แนบมา
3.นักศึกษาฝึกประสบการณ์ ขั้นการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 2 ต้องห้ามการพนัน อบายมุข สิ่งเสพย์ติดทุกอย่าง ชู้สาว รวมไปถึงการกระทำที่ผิดคุณธรรมทั้งในและนอกเวลาปฏิบัติงานอย่างเด็ดขาด
4.นักศึกษาฝึกประสบการณ์ ขั้นการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 2 จะต้องปฏิบัติตามคำตักเตือนและคำแนะนำของครูใหญ่ อาจารย์ใหญ่ ผู้อำนวยการ อาจารย์พี่เลี้ยง และอาจารย์นิเทศอย่างเคร่งครัด
5.นักศึกษาฝึกประสบการณ์ ขั้นการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 2 จะต้องไปโรงเรียนฝึกประสบการณ์ก่อนเวลาโรงเรียนเข้าอย่างน้อย 30 นาที และกลับที่พักหลังจากโรงเรียนเลิกแล้ว 30 นาที เป็นอย่างน้อย
6.นักศึกษาฝึกประสบการณ์ ขั้นการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 2 จะต้องลงเวลาการทำงานและกลับตามความเป็นจริงในบัญชีลงเวลาการทำงานที่โรงเรียนจัดไว้ให้
7.การขออนุญาตลาป่วย นักศึกษาจะต้องยื่นใบลาตามระเบียบของทางราชการต่อครูใหญ่ อาจารย์ใหญ่ หรือผู้อำนวยการ ให้ส่งใบลาในวันที่ป่วยหรือวันแรกที่กลับมาทำการสอนหลังจากหายป่วยแล้ว
8.ในระหว่างเวลาราชการ ถ้านักศึกษามีความจำเป็นจะต้องออกนอกบริเวณโรงเรียนให้นักศึกษาอนุญาตจากอาจารย์พี่เลี้ยง หรือผู้บริหารโรงเรียน และปฏิบัติตามระเบียบการออกนอกบริเวณโรงเรียนตามระบุในสัญญาที่ทำไว้กับฝ่ายฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู
9.นักศึกษาฝึกประสบการณ์ ขั้นการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 2 จะต้องปฏิบัติตามระเบียบต่าง ๆ ของโรงเรียน เช่นเดียวกับครูประจำการขั้นทดลองปฏิบัติงานจึงไม่มีสิทธิลากิจ ยกเว้นกรณีได้รับอนุญาตจากผู้บริหารโรงเรียน
10.นักศึกษาฝึกประสบการณ์ ขั้นการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 2 จะต้องรายงาน ครูใหญ่ อาจารย์ใหญ่ หรือผู้อำนวยการ และอาจารย์นิเทศทราบทันที ถ้ามีเหตุการณ์ที่ก่อให้เกิดความเสียหายแก่โรงเรียน มหาวิทยาลัย นักเรียน หรือ ตัวนักศึกษาเอง
11.นักศึกษาควรปรึกษาอาจารย์พี่เลี้ยงเกี่ยวกับการทำแผนการสอน และต้องส่งแผนการสอนให้อาจารย์พี่เลี้ยงตรวจล่วงหน้าก่อนสอน 1 สัปดาห์
12.นักศึกษาที่เป็นประธานหน่วยฝึกประสบการณ์ ขั้นการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 2 จะต้องรายงานการมาสาย ขาด การลาป่วย ของนักศึกษาฝึกประสบการณ์ ในโรงเรียนให้อาจารย์นิเทศทราบทุกครั้งที่มาทำการนิเทศ และสรุปเป็นลายลักษณ์อักษรส่งฝ่ายฝึกประสบการณ์ในวันสัมมนาทุกครั้ง และวันปัจฉิมนิเทศ
13. นักศึกษาจะต้องมีการประชุมหารือ เพื่อวางโครงการปฏิบัติงานและแก้ไขปัญหาต่างตลอดจนการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นซึ่งกันและกันเป็นประจำทุกสัปดาห์ และเลขานุการหน่วยฝึกต้องจดบันทึกไว้ในสมุดรายงานการประชุมทุกครั้ง และส่งฝ่ายฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูในวันสัมมนาและปัจฉิมนิเทศ
14. นักศึกษาฝึกประสบการณ์ ขั้นการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 2 ที่พักในบ้านพักของโรงเรียน จะต้องไม่นำบุคคลภายนอกมาค้างคืนในบ้านพัก การไปค้างคืนที่อื่นจะต้องแจ้งให้อาจารย์ที่รับผิดชอบเรื่องที่พักทรายอย่างเป็นลายลักษณ์อักษรทุกครั้ง
15.ถ้านักศึกษาประพฤติตนไม่เหมาะสมกับการเป็นนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู แม้นักศึกษาได้รับการว่ากล่าวตักเตือนแล้วก็ยังไม่แก้ไขปรับปรุงตนเองให้ดีขึ้น มหาวิทยาลัยอาจพิจารณาให้นักศึกษาพ้นสภาพการฝึกประสบการณ์ ขั้นการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 2 ในภาคเรียนนั้น
วิสัยทัศน์
โรงเรียนวัดเขาวัง (แสง ชวงสุวนิช) เป็นโรงเรียนปฏิรูปการศึกษา ที่พัฒนากระบวนการเรียนรู้ เน้นนวัตกรรม สร้างสรรค์สิ่งแวดล้อมสู่การประกันคุณภาพ นักเรียนมีคุณธรรมนำความรู้สู่ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง พัฒนาสู่การศึกษาต่อ
ปรัชญาโรงเรียน
กลฺยาณการี กลยาณํ ปาปการีจปาปกํทำดีได้ดี ทำชั่วได้ชั่ว
คำขวัญ
มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ คู่คุณธรรม นำคุณภาพ
อุดมคติโรงเรียน
โรงเรียนวัดเขาวัง (แสง ชวงสุวนิช) เป็นโรงเรียนปฏิรูปการศึกษา ที่พัฒนากระบวนการเรียนรู้ เน้นนวัตกรรม สร้างสรรค์สิ่งแวดล้อมสู่การประกันคุณภาพ นักเรียนมีคุณธรรมนำความรู้สู่ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง พัฒนาสู่การศึกษาต่อ
ปรัชญาโรงเรียน
กลฺยาณการี กลยาณํ ปาปการีจปาปกํทำดีได้ดี ทำชั่วได้ชั่ว
คำขวัญ
มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ คู่คุณธรรม นำคุณภาพ
อุดมคติโรงเรียน
"สามัคคีคือพลัง"
นโยบายการจัดการศึกษาของโรงเรียน
นโยบายการจัดการศึกษาของโรงเรียน
1.ส่งเสริม ปฏิรูปการศึกษา โดยมุ่งเน้นการบริหารจัดการที่ดี ตามหลักธรรมาภิบาลและบริหารจัดการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
2.พัฒนากระบวนการเรียนรู้ โดยยึดนักเรียนเป็นสำคัญ
3.ส่งเสริมการใช้นวัตกรรม มาประกอบการจัดการศึกษาโดยพัฒนาบุคลากรให้มีทักษะการวิจัยและการใช้เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา
4.พัฒนาสภาพแวดล้อม อาคารสถานที่ให้มีบรรยากาศที่เอื้อต่อการจัดการศึกษา จัดวัสดุอุปกรณ์ให้เพียงพอต่อการบริการ
5.พัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในให้มีคุณภาพเป็นไปตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
6.ส่งเสริม สนับสนุน กิจกรรมพัฒนาคุณธรรมนำความรู้สู่ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงให้เกิดแก่นักเรียน โดยชุมชนมีส่วนร่วม รวมทั้งการอนุรักษ์วัฒนธรรม ประเพณีไทย ภูมิปัญญาท้องถิ่น
7.ส่งเสริม สนับสนุนการดูแลช่วยเหลือนักเรียนทุกคนให้ได้รับการศึกษาต่อ
2.พัฒนากระบวนการเรียนรู้ โดยยึดนักเรียนเป็นสำคัญ
3.ส่งเสริมการใช้นวัตกรรม มาประกอบการจัดการศึกษาโดยพัฒนาบุคลากรให้มีทักษะการวิจัยและการใช้เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา
4.พัฒนาสภาพแวดล้อม อาคารสถานที่ให้มีบรรยากาศที่เอื้อต่อการจัดการศึกษา จัดวัสดุอุปกรณ์ให้เพียงพอต่อการบริการ
5.พัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในให้มีคุณภาพเป็นไปตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
6.ส่งเสริม สนับสนุน กิจกรรมพัฒนาคุณธรรมนำความรู้สู่ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงให้เกิดแก่นักเรียน โดยชุมชนมีส่วนร่วม รวมทั้งการอนุรักษ์วัฒนธรรม ประเพณีไทย ภูมิปัญญาท้องถิ่น
7.ส่งเสริม สนับสนุนการดูแลช่วยเหลือนักเรียนทุกคนให้ได้รับการศึกษาต่อ
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)